Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1588
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เยาวภา ปิ่นทุพันธ์ | th_TH |
dc.contributor.author | สมบูรณ์ จันทร์สว่าง, 2503 | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-16T08:16:31Z | - |
dc.date.available | 2022-09-16T08:16:31Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1588 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม. (สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2548 | th_TH |
dc.description.abstract | สาธารณสุขอำเภอรับผิดชอบการนิเทศงานระด้บอำเภอของสถานีอนามัยและศูนย์สุขภาพชุมชน และการประสานงานสาธารณสุขของอำเภอ โดยใช้ความสามารถในการบริหารเชิงกลยุทธ์และทักษะด้านการบริหาร การวิจัยนี้มีความมุ่งหวังเพื่อ สำรวจความสามารถในการบริหารเชิงกลยุทธ์ตามการประเมินตนเองของ สาธารณสุขอำเภอในประเด็น ความ(ด้านการวิเคราะห์ การกำหนด การดำเนินการ และการควบคุมกลยุทธ์ โอกาสการนำความรู้ไปใช้และการประยุกต์ความรู้ในการปฐบัติงาน รวมทั้งทักษะด้านภาวะชี้นำและการสื่อสาร และศึกษาความแตกด่าง ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลกับความสามารถในการบริหารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม การดำเนินงานใช้การวิจัยเชิงสำรวจในการศึกษาสาธารณสุขอำเภอในเขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 5 6 และ7จำนวน 100 คน เครื่องมือเป็นแบบสอบถามเชิงสารสนเทศเกี่ยวกับการบริหารเชิงกลยุทธ์ที่ได้รับการ ตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา และทดสอบความเชื่อมั่น (ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค 0.9545) อัตราการตอบกลับของแบบสอบถามทางไปรษณีย์เท่ากับรัอยละ 100 การประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูล ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป พรรณนาลักษณะของตัวแปรเป็นรัอยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน กำหนดระดับความรู้ทักษะ โอกาสนำความรู้ไปปฎิบัติ และการประยุกต์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน เป็น 5 ระดับ (จากนัอยที่สุดไปหามากที่สุด) และกำหนดระดับความสามารถเป็น 3 ระดับ (สูง ปานกลาง และต่ำ) และหาความ สัมพันธ์ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาด้วยการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียวผลการศึกษาพบว่า (1) สาธารณสุขอำเภอมีควานสามารถในการบริหารเชิงกลยุทธ์ในภาพรวมและเป็นรายด้านของการวิเคราะห์การกำหนด การดำเนินการ และการควบคุมกลยุทธ์ อยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความรู้ที่เกี่ยวข้อง โอกาสนำความรู้ไปใช้ และการประยุกต์ความรู้ไปใช้ในการปฏิบัติงาน อยู่ในระดับปานกลาง (2) สาธารณสุขอำเภอมีความรู้เฉลี่ยเรื่องการวิเคราะห์ความแตกด่างของการบริหารคุณภาพโดยรวม และการเทียบวัด อยู่ในระดับต่ำกว่าเรื่องอื่น ๆ (3) สาธารณสุขอำเภอมีทักษะด้านภาวะชี้นำและการสื่อสารอยู่ในระตับสูง ชี่งการเปิด โอกาสให้ผู้ใต้บังคับบัญชา แสดงความคิดเห็นได้อย่างอิสระ และความสามารถถ่ายทอดนโยบายไปสู่ผู้ใต้บังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และ (4) สาธารณสุขอำเภอที่มีความแตกต่างกันในเรื่องอายุ เงินเดีอน สถานภาพ สมรส การศึกษา อายุราชการ ระยะเวลาในการดำรงตำแหน่ง และจำนวนบุคลากรภายใต้การนิเทศมีความสามารถในการบริหาร เชิงกลยุทธ์ไม่แตกด่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติความรู้เฉลี่ยในระดับปานกลางเกี่ยวกับเครื่องมือสำคัญในการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสาธารณสุขอำเภอ บ่งบอกถึงความด้องการการฝึกอบรมและการส่งเสริมโอกาสในการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | สาธารณสุข--การบริหาร | th_TH |
dc.subject | การวางแผนเชิงกลยุทธ์ | th_TH |
dc.subject | ความสามารถทางการบริหาร | th_TH |
dc.title | ความสามารถด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสาธารณสุขอำเภอในเขตตรวจราชการการสาธารณสุขที่ 5, 6, 7 | th_TH |
dc.title.alternative | Strategic management competency of district health officials of the public health supervisory region 5, 6, and 7 | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | District health officer (DHOs) are responsible for the supervision of health centers and primary care units and for the cooperation in the district public health work by using strategic management competency (SMC) and management skills. The aims of this research were to survey the SMC based self-assessment of the DHOs regarding their knowledge about strategic analysis, formulation, implementation, and control; opportunity for knowledge application; the applicability of knowledge; the leadership and communication skills; and to determine the relationships between the personal factors and their overall SMC. A survey research was conducted to study 100 DHOs of the Public Health Supervisory Region 5 6 and 7. The instrument was a strategic management informative questionnaire that was examined for content validity and tested for its reliability (with a Cronbach alpha coefficient of 0.9545.) The questionnaire was mailed to the research subjects with 100% return rate. Data processing and analysis wear done by computer package program. The variables were described as percent, means and standard deviation. The knowledge, skills, the opportunity for knowledge application; the applicability of knowledge was determined by 5 level-range from the least to the highest; and the SMC by 3-range (high, moderate, and low). The relationship between the studied variables was determined by one-way analysis of variance. The research findings indicated that (1) DHOs possessed the overall SMC and in each aspect (SA, SF, SI, and) at moderate level and had relevant knowledge, opportunity' for knowledge utilization and applicability to their works at moderate level; (2) their average knowledge about the Gap analysis, total quality management and benchmarking were lower than other matters; (3) the DHOs possessed the leadership and communication skills at high level, of which the mean values of an opportunity for the subordinates to express freely their opinions and recommendations and of the ability to convey the policy to the subordinates were at the highest level; and (4) the DHOs with differences in age, income, marital status, education, numbers of work year, duration of occupying the DHO position, and numbers of personnel under supervision, did not possess the SMC differently with statistical significance. The mean knowledge about the essential tools of the strategic management among the DOI Is at the moderate level indicated their training needs and the contribution of the opportunity for knowledge application | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License