Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1608
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์ | th_TH |
dc.contributor.author | วีรยุทธ น้อยพรหม, 2529- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-19T08:09:34Z | - |
dc.date.available | 2022-09-19T08:09:34Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1608 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การเปิดรับฟังรายการข่าววิทยุกระจายเสียง (2) ความต้องการด้านเนื้อหาและรูปแบบรายการข่าววิทยุกระจายเสียง (3) เปรียบเทียบลักษณะทางประชากรกับการเปิดรับฟังรายการข่าววิทยุกระจายเสียงและ (4) เปรียบเทียบความแตกต่างของลักษณะทางประชากรกับความต้องการด้านเนื้อหา รูปแบบและวิธีการนําเสนอรายการข่าววิทยุกระจายเสียงของประชาชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง การวิจัยครั้งนี้เป็น การวิจัยเชิงสํารวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง จํานวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัย คือแบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัย พบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่รับฟังรายการข่าววิทยุกระจายเสียงจากหอกระจายข่าว โดยฟัง 3-4 วัน/สัปดาห์ ประเภทข่าวที่ฟังส่วนใหญ่ คือ ข่าวท้องถิ่น และรับฟังในช่วง เช้าเวลา 06.00 – 09.00 น. (2) กลุ่มตัวอย่างมีความต้องการด้านเนื้อหาข่าวในด้านคุณภาพของข่าวมากที่สุด โดยข่าวจะต้องมีแหล่งที่มาชัดเจน ทันเหตุการณ์ ส่วนประเภทข่าวที่มีความต้องการรับฟังมากที่สุดคือ ข่าวท้องถิ่นที่นําเสนอโดยวิธีการเล่าข่าวในช่วงเวลา 06.00 – 09.00 น. ความยาว 30 นาที มากที่สุด และผู้ดําเนินรายการต้องมีความสามารถในการอ่านข่าวให้เข้าใจง่าย (3) ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ที่มีอายุระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือนแตกต่างกันมีการเปิดรับฟังรายการข่าววิทยุกระจายเสียงแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ (4) ประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ที่มีอายุและระดับการศึกษา แตกต่างกันมีความต้องการด้านความยาวของเวลาการนําเสนอข่าวแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ข่าววิทยุ--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) | th_TH |
dc.subject | วิทยุกระจายเสียง--ไทย (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)--ความพอใจของผู้ใช้บริการ | th_TH |
dc.title | การเปิดรับและความต้องการด้านเนื้อหาและรูปแบบรายการข่าววิทยุกระจายเสียงของประชาชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง | th_TH |
dc.title.alternative | Exposure to and needs towards news radio program’s content and format of people in Lower Northeast Region | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study the exposure to radio news programs of audience of the lower Northeast region of Thailand; (2) to assess their need for radio news programs’ content and formats; (3) to compare the difference of respondents’ demographic factors with their exposure to radio news programs; and (4) to compare respondents’ demographic factors with their demand for radio news program in term of content, formats and presentation methods. This was a survey research, using questionnairs. The sample was 400 residents of the lower Northeast region of Thailand, chosen through multi-stage sampling. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, t test and ANOVA. The results showed that (1) the majority of survey respondents listened to radio news programs via their community broadcasting tower around 3-4 days a week. They listened to local news the most normally at 06:00-09:00 in the morning. (2) As for news content, most of the respondents concerned regarding the quality of news the most. They desired news from clearly identifiable sources that was up to date. They had the highest demand for local news. Presenting in the news talk program at the length of 30 minutes in duration at the time period 06:00-09:00 in the morning. They had a demand for news broadcasters who could read the news clearly and make it easy to understand. (3) There was a highly statistically significant relationship at 0.01 confidence level between the demographic factors of age, educational level, occupation and monthly income of the respondents and their exposure to radio news programs. (4) There was a statistically significant relationship at 0.05 confidence level between the age and educational level of respondents and their demand for the length of radio news programs | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สันทัด ทองรินทร์ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib160548.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License