Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1611
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวนี ชินนาลองth_TH
dc.contributor.authorวารุณี สิทธิรังสรรค์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-20T02:17:50Z-
dc.date.available2022-09-20T02:17:50Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1611en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (การบูรณาการการสื่อสาร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเฟซบุ๊กแฟนเพจ Drama-addict เกี่ยวกับ 1) เนื้อหา 2) รูปแบบการสื่อสารผ่านฟังก์ชันของเฟซบุ๊กแฟนเพจ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาของเฟซบุ๊กแฟนเพจ Drama-addict เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม-กันยายน พ.ศ. 2562 โดยใช้แนวทางส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุขเป็นกรอบในการศึกษากรอบที่ใช้คือ 3อ. 2ส. 1ฟ. ทั้งนี้หมวด 3อ. ได้แก่ ประเด็นเกี่ยวกับอาหาร ออกกำลังกาย และ อารมณ์ ส่วนหมวด 2ส. ได้แก่ ประเด็นเกี่ยวกับสุรา และสูบบุหรี่ และหมวด 1ฟ. ได้แก่ ประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพฟัน และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุป ผลการวิจัย พบว่า 1) เนื้อหาของเฟซบุ๊กแฟนเพจ Drama-addict สอดคล้องตามแนวทาง การส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข โดยเนื้อหาเกี่ยวกับหมวด 3อ. มีการนําเสนอมากกว่าเนื้อหาในหมวดอื่น ๆ ทั้งนี้เมื่อแยกเป็นรายประเด็นในแต่ละหมวด พบว่านําเสนอ เนื้อหาเกี่ยวกับอาหารมากที่สุด และเนื้อหาเกี่ยวกับสูบบุหรี่น้อยที่สุดโดยเนื้อหาในประเด็นอาหารที่นําเสนอเป็นเนื้อหาเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้องมากที่สุด ประเด็นเกี่ยวกับการออกกำลังกายนําเสนอประโยชน์จากการออกกำลังกายมากที่สุด และประเด็นอารมณ์นําเสนอเน้อหาเกี่ยวกับโรคซึมเศร้ามากที่สุด สําหรับประเด็นเกี่ยวกับสุรา นําเสนอเกี่ยวกับการดื่มสุราผิดวิธีมากที่สุด ส่วนประเด็นการสูบบุหรี่นําเสนออันตรายจากบุหรี่ไฟฟ้ามากที่สุด และประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพฟัน นําเสนออันตรายจากการจัดฟันเถื่อนมากที่สุด ทั้งนี้เฟซบุ๊กแฟนเพจ Drama-addict นําเสนอเนื้อหาโดยระบุแหล่ง อ้างอิงด้วยโดยแหล่งข้อมูลอ้างอิงที่ใช้มากที่สุด 3 อันดับ ได้แก่แฟนเพจ Sarikahappymen แฟนเพจห้องทําฟันหมายเลข 10 และแฟนเพจพะยูนบูดตะลุยกันตามลําดับ ทั้งนี้แหล่งอ้างอิงดังกล่าวเป็นแฟนเพจด้าน สุขภาพที่มีแอดมินเป็นแพทย์ นอกจากนี้เฟซบุ๊กแฟนเพจ Drama-addict ยังนําเสนอเนื้อหาโดยอ้างอิงจากสํานักข่าวต่างๆ อีกด้วย และ 2) รูปแบบการสื่อสารผ่านฟังก์ชันของเฟซบุ๊ก พบว่า ใช้ 6 ฟังก์ชัน ได้แก่ การอัพเดทสถานะ การเขียนบันทึก การแบ่งปันลิงก์ ฟังก์ชันรูปภาพ ฟังก์ชันวิดีโอ และการสร้างโพลล์ คําถาม ทั้งนี้ในแต่ละโพสต์ของเฟซบุ๊ก แฟนเพจ Drama-addict เลือกใช้ 2 ฟังกชันขึ้นไปในการนําเสนอเนื้อหาth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบูรณาการการสื่อสาร--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการสื่อสาร--การจัดการ--เทคโนโลยีที่เหมาะสมth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์--การสื่อสารth_TH
dc.subjectเฟซบุ๊คth_TH
dc.subjectสุขภาพth_TH
dc.titleการสื่อสารสุขภาพผ่านเฟซบุ๊กแฟนเพจ Drama-addictth_TH
dc.title.alternativeHealth communication on the drama-addict facebook fanpageen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study the Drama-addict Facebook fanpage regarding 1) the content and 2) the patterns of using Facebook functions. This was a qualitative research, using content analysis as a research tool. Data was collected from the posts on the Drama-addict Facebook fanpage for 3 months from July to September 2019. The content was analyzed using the health promotions and disease prevention guideline issued by the Health Department, Ministry of Public Health. The guideline is called 3E2N1D which consists of 3E: Eats, Emotions, Exercise 2N: No alcohol, No smoking and 1D: Dental care for habitual changes. The results showed that 1 ) The Drama-addict Facebook fanpage content were connected to the guideline. The content of the 3E category were presented the most. Within the 3E category, the Eat-related posts were represented the most while the No-alcohol-related posts in the 2N category were presented the least. For content in the 3E category, bad eating habits was the most prevalent subject matter. Most of the Exercise-related posts were about the benefits of exercise. For Emotional-related posts, depression was the most common subject. As for the 2N category, the Noalcohol-related content was about the misguided ways to consume alcohol and most No-smoking-related content was about the dangers of electronic cigarettes. For the dental-care-related category, most content was about the dangers of cosmetic orthodontics services from unlicensed practitioners. The Drama-addict Facebook fanpage often offered their audience the information sources and references; it referred to Sarikahappyman fanpage, Dentist No. 10th fanpage, and Payoonboodtaluekan fanpage respectively. Those are health-focus fanpage. Moreover, the Drama-addict referred to some news agencies as its reference. 2) The Drama-addict Facebook fanpage used all of the Facebook functions in their posts as following: status updating, commenting, link sharing, photo posting, video posting and poll making. The pattern is using at least two functions in each posten_US
dc.contributor.coadvisorบุษบา สุธีธรth_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib165544.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons