Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสันทัด ทองรินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดุษฎี จอประยูร, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-22T06:44:40Z-
dc.date.available2022-09-22T06:44:40Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1620-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.(นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับของผู้ฟังรายการ 2) การมีส่วนร่วมของผู้ฟังรายการ 3) ความพึงพอใจของผู้ฟังรายการ และ 4) เปรียบเทียบการเปิดรับฟัง และความพึงพอใจของผู้ฟังรายการสถานีวิทยุส่งเสริมพระพุทธศาสนาวัดรัตนชัย อําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่มีลักษณะทางประชากรแตกต่างกัน การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ฟังในอําเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จํานวน 400 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติอ้างอิง ได้แก่การทดสอบไควสแควร์ การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว ทําการทดสอบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) การเปิดรับของผู้ฟังรายการด้านความถี่ในการฟังมากที่สุดคือ ฟังทุกวัน ส่วนใหญ่ฟังรายการที่บ้าน ช่วงเวลาที่ฟังรายการมากที่สุดคือช่วงเช้า ลักษณะการฟังส่วน ใหญ่ตั้งใจฟังตลอดรายการ เหตุผลที่ต้องการฟัง คือ ต้องการผ่อนคลายและความบันเทิง ผู้ฟังส่วนใหญ่สนใจฟังรายการเพลง/บันเทิง 2) ผู้ฟังมีส่วนร่วมในรายการ ในระดับผู้ฟัง โดยช่วยประชาสัมพันธ์ให้ผู้อื่นรับฟังรายการของสถานีมากที่สุด 3) ผู้ฟังมีความพึงพอใจต่อรายการของสถานีในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความพึงพอใจรายการประเภทข่าวสารมากที่สุด ผู้ฟังมี ความพึงพอใจด้านเนื้อหารายการมากที่สุด คือ นําเสนอเรื่องทันต่อเหตุการณ์ และเนื้อหาเข้าใจง่าย น่าสนใจ ผู้ฟังมีความพึงพอใจในการใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย และเป็นกันเองของผู้ดําเนินรายการมากที่สุด และผู้ฟังมีความพึงพอใจเกี่ยวกับเสียงชัดเจนดี เวลาในการออกอากาศ และความยาวของแต่ละรายการมีความเหมาะสม โดยมีความพึงพอใจในระดับมาก และ 4) ผู้ฟังที่มีระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกันมีการเปิดรับฟังรายการของสถานีแตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญทาง สถิติที่ระดับ0.05 และ 5) ผู้ฟังที่มีอายุ อาชีพ แตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการฟังรายการจากสถานีแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถานีวิทยุส่งเสริมพระพุทธศาสนาวัดรัตนชัยth_TH
dc.subjectสถานีวิทยุ -- ไทย -- พระนครศรีอยุธยา -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleการเปิดรับ การมีส่วนร่วมและความพึงพอใจของผู้ฟังสถานีวิทยุส่งเสริมพระพุทธศาสนาวัดรัตนชัย อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeMedia exposure, Participation and Satisfaction towards Wat Rattanachai Buddhism Public Radio among their Audience in Phra Nakhon Si Ayutthaya District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of the research was to study 1) their in regard of media exposure the listeners of Wat Rattanachai Buddhism Public Radio Station in PhraNakorn Sri Ayuthaya District, Ayuthaya Province; 2) their participation in the radio station’s activities; 3) their satisfaction towards the radio station; and 4) the relationships between exposure and satisfaction of listeners and demographic factors. This was a quantitative research. The sample was 400 radio listeners in PhraNakorn Sri Ayuthaya District, Ayuthaya Province, chosen through multi stage sampling. The research using a questionnaire to collect data. Data were analyzed using the descriptive statistics methods of frequency, percentage, mean, and standard deviation and the referential statistics methods of chi square, t-test, one-way ANOVA and pairwise comparison via Least Significant Difference (LSD). The results showed that 1) the majority of sample listened to the station every day; most of them listened at home in the morning. Most listeners paid attention to the radio show throughout the program. They listened for relaxation and entertainment. Most sample were interested in listening to music and entertaining radio programs. 2) Most sample participated in the radio station by encouraging other people to listen. 3) Overall, the majority of sample had a high level of satisfaction with the station. They reported the highest level of satisfaction with news programs. They were most satisfied with the content, because it was up-to-date, interesting and easy to understand. They were satisfied with radio hosts who used easy-to-understand, informal language. They were very satisfied with the clarity of the audio signal, time of broadcast, and the appropriate length of programs. 4) Differences in the demographic factors of educational level, occupation, and income were related to media exposure at the significance level of 0.05. 5) Differences in age and occupation were related to the satisfaction with the radio station at the significance level of 0.05en_US
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib161684.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.61 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons