Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1621
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสันทัด ทองรินทร์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทิพย์วรรณ อุดทาคำ, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-22T07:10:12Z-
dc.date.available2022-09-22T07:10:12Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1621-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์)) -- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การเปิดรับข่าวสารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในสายตานักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) 2) การรับรู้ภาพลักษณ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในสายตานักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) 3) การเปรียบเทียบการรับรู้ภาพลักษณ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในสายตานักเรียนโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) ตามลักษณะทางประชากร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน) จังหวัดนครปฐม จํานวน 288 คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลคือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบ ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยรายคู่ตามวิธีของ LSD ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างเปิดรับข่าวสารคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล จากอาจารย์แนะแนวมากที่สุด เปิดรับเรื่องแนะแนวหลักสูตรการรับสมัครนักศึกษาใหม่มากที่สุด โดยเปิดรับทุก 6 เดือน ส่วนใหญ่เปิดรับที่โรงเรียน และเข้าร่วมกิจกรรมการเยี่ยมชมห้องปฏิบัติการวิจัยมากที่สุด 2) กลุ่มตัวอย่างรับรู้ภาพลักษณ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การรับรู้ภาพลักษณ์ ด้านบุคลากร มีค่าเฉลี่ยสูงสุด อยู่ในระดับมาก 3) นักเรียนที่มีเพศ เกรดเฉลี่ย และภูมิลําเนาที่แตกต่างกัน มีการรับรู้ภาพลักษณ์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นด้านบุคลิกภาพเชิงบวกต่อคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้แก่ เป็นองค์กรที่ฉลาด ทันสมัย แข็งแรง ตามลําดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การth_TH
dc.titleภาพลักษณ์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลในสายตานักเรียน โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ (องค์การมหาชน)th_TH
dc.title.alternativeCorporate image of school of engineering, Mahidol University from the perspective of Mahidol Wittayanusorn School (Public Organization) studentsth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิเทศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Comm-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib161683.pdfเอกสารฉบับเต็ม1.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons