Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1622
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุษบา สุธีธร, 2500- | th_TH |
dc.contributor.author | ธิติ สิงห์คง, 2532- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-22T07:41:16Z | - |
dc.date.available | 2022-09-22T07:41:16Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1622 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เปรียบเทียบการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ภายในองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ตามลักษณะทางประชากร 2) เปรียบเทียบความต้องการข้อมูล ข่าวสารประชาสัมพันธ์ของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ตามลักษณะทางประชากร 3) เปรียบเทียบความผูกพันองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร ตามลักษณะทางประชากร และ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ภายในองค์การกับความผูกพันองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสํารวจกลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุนของ มหาวิทยาลัยนเรศวร จํานวน 367คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การทดสอบค่าที่และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการวิจัยพบว่า บุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร 1) เปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์ภายในโดย รวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเปิดรับจากหลายช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นสื่อออนไลน์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และ สื่อสิ่งพิมพ์แต่เปิดรับผ่านทางสื่อออนไลน์มากที่สุดและพบว่าการเปิดรับสื่อประชาสัมพันธ์มีความ แตกต่างกันตามลักษณะทางประชากร ได้แก่ เพศ อายุสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหน่งงาน ระยะเวลาในการทํางาน 2) ความต้องการข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์อยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มากที่สุด คือ ด้านของข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสวัสดิการ สิทธิประโยชน์และผลประโยชน์ต่าง ๆ โดย แตกต่างตามลักษณะทางประชากร ได้แก่ เพศ อายุสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหน่งงาน ระยะเวลาในการทํางาน 3) บุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร มีความผูกพันต่อองค์การอยู่ในระดับมากโดย ไม่มีความแตกต่างตามลักษณะทางประชากร ได้แก่ เพศอายุสถานภาพสมรส ระดับการศึกษา ตําแหน่งงาน ระยะเวลาในการทํางาน และ 4) การเปิดรับข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์ภายในมีความสัมพันธ์กับความผูกพันองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พฤติกรรมข่าวสาร | th_TH |
dc.subject | ความผูกพันต่อองค์การ | th_TH |
dc.title | การเปิดรับสื่อ ความต้องการข้อมูลข่าวสารประชาสัมพันธ์ภายในและความผูกพันที่มีต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยนเรศวร | th_TH |
dc.title.alternative | Media exposure, needs for internal public relations information, and organizational engagement of Naresuan University staffs | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) the exposure of Naresuan University staff to internal public relations information, comparing different demographic groups; 2) the needs of Naresuan University staff for internal public relations information, comparing different demographic groups; 3) the level of organizational engagement of Naresuan University staff, comparing different demographic groups; and 4) the relationship between level of organizational engagement and exposure to internal public relations information. This was a survey research. The sample was 367 academic and support staff of Naresuan University chosen through multi-stage sampling. The research tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation, Pearson’s correlated coefficient, t test and analysis of variation. The results showed that 1) overall, the samples were exposed to the university’s internal public relations information to a medium degree. They received information via several channels including online media, electronic media, and print media, but through online media the most. Exposure varied for different demographic groups based on sex, age, marital status, educational level, work position and years of work experience. 2) Naresuan University staff expressed a high level need for internal public relations information of every type, especially news about employee welfare rights and benefits. Demand for internal public relations information varied for different demographic groups based on sex, age, marital status, educational level, work position and years of work experience. 3) The samples all had a high level of organizational engagement and no differences were detected among different demographic groups. 4) Exposure to internal public relations information was related to level of organizational engagement | en_US |
dc.contributor.coadvisor | อัจฉราวรรณ อิศรางกูร ณ อยุธยา | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib159371.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License