Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1624
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สันทัด ทองรินทร์ | th_TH |
dc.contributor.author | พระวีระชัย อามาตย์มนตรี, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-22T08:27:24Z | - |
dc.date.available | 2022-09-22T08:27:24Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1624 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (นศ.ม. (นิเทศศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊ก 2) การรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊ก 3) เปรียบเทียบความแตกต่างของการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊ก ตามลักษณะทางประชากรของ พระภิกษุสามเณร และ 4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊กกับการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊ก ของพระภิกษุสามเณรใน เขตอําเภอเมือง จังหวัดเลย กลุ่มตัวอย่างเป็นพระภิกษุและสามเณรที่จําวัดในเขตอําเภอเมือง จังหวัดเลย สุ่มตัวอย่างแบบหลายชั้น จํานวน 297 รูป เครื่องมือในการวิจัย คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่า ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าไคสแควร์ และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) พระภิกษุและสามเณรส่วนใหญ่ใช้เฟซบุ๊ก มาเป็นระยะเวลา 1 – 2 ปี โดยมีการใช้ ใช้ทุกวัน วันละ 30 นาที – 1 ชั่วโมง โดยเป็นการใช้ในบริเวณกุฏิ ส่วนใหญ่ใช้ใน ช่วงเวลา 17.00 – 20.00 น. และใช้ในกิจกรรม สนทนาการอ่านและแสดงความคิดเห็น ติดตาม ข้อมูลของบุคคลอื่น 2) พระภิกษุและสามเณรมีการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊ก ในระดับมาก 3) พระภิกษุ และสามเณร ที่มีอายุพรรษาวุฒิการศึกษาทางโลกวุฒิการศึกษาบาลี แตกต่างกัน มีการรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊ก แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) พฤติกรรมการใช้สื่อเฟซบุ๊ก ทั้งด้าน ระยะเวลา ความถี่ในการใช้ ระยะเวลาการใช้ และสถานที่ใช้มีความสัมพันธ์กับการรู้เท่าทันสื่อ เฟซบุ๊ก ในด้านการรับรู้และด้านการวิเคราะห์ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิเทศศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การรู้เท่าทันสื่ออินเทอร์เน็ต | th_TH |
dc.subject | เฟซบุ๊ค--การศึกษาการใช้ | th_TH |
dc.subject | สงฆ์--ไทย--เลย | th_TH |
dc.title | พฤติกรรมการใช้และการรับรู้เท่าทันสื่อเฟซบุ๊กของพระภิกษุสามเณรในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเลย | th_TH |
dc.title.alternative | Facebook uses behavior and media literacy of Buddhist monks and novices in Muang District, Loei Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชานิเทศศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) Facebook uses behavior of Buddhist monks in Mueang District, Loei Province; 2) their media literacy level; 3) the association between the monks’ demographic characteristics and their level of media literacy; and 4) the relationship between Facebook uses behavior and media literacy. The sample was 297 Buddhist monks and novices residing at temples in Mueang District, Loie Province, chosen through multi-stage sampling. The research tool was a questionnaire. Data were statistically analyzed using percentage, mean, standard deviation, chi square and correlation coefficient. The results showed that 1) the majority of samples had used Facebook for 1 or 2 years and used it every day for 30 minutes to one hour. They mostly used Facebook in their quarters, most often during the time period 17:00 – 20:00. Their main activities were to converse, read, express opinions, and follow other people’s information. 2) The samples had a high level of media literacy. 3) Differences in the variables of the samples’ length of time being ordained as a monk or novice, educational level as a layman, and educational level in Bali language were associated with differences in level of media literacy to a statistically significant degree. 4) The variables of Facebook uses behavior of length of time of use, frequency of use, time period of use, and location of use were related to level of media literacy in the aspects of awareness and analysis | en_US |
dc.contributor.coadvisor | ไพบูรณ์ คะเชนทรพรรค์ | th_TH |
Appears in Collections: | Comm-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib160546.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License