Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1649
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เรณุการ์ ทองคำรอด | th_TH |
dc.contributor.author | สุภาพร จันทร์สาม, 2518- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-30T01:54:43Z | - |
dc.date.available | 2022-09-30T01:54:43Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1649 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพึ๋อ 1) ศึกษาสภาพการณ์การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตาย จังหวัดยโสธร 2) พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตายจังหวัดยโสธร และ 3) ประเมินผลการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมชองชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตาย จังหวัดยโสธร การวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ศึกษาสภาพการณ์การมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสัมภาษณ์เชิงกึ่งโครงสร้างระยะที่ 2 การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ กระบวนการ TOP Model และเทคนิค AIC และระยะที่ 3 การประเมินผลรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตายเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบประเมินภาวะซึมเศร้าแบบทดสอบความรู้ในการป้องกันการฆ่าตัวตาย และแบบประเมินความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตาย กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จำนวน 56 คน ประกอบด้วย ผู้มีภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตาย ญาดิ แกนนำชุมชน และบุคลากรสาธารณสุข โดยเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ยังไม่มีรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตายที่ชัดเจน ชุมชนยังขาดความเข้าใจและความตระหนักในความสำคัญของการป้องกันการฆ่าตัวตาย 2) รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตายประกอบด้วยการมีส่วนร่วมของผมส่วนได้ส่วนเสียในชุมชน การให้องค์ความรู้ การเสริมสร้างพลัง การเสริมสร้างสุขภาพจิต และสร้างชุมชนการเรียน และ 3) หลังการใช้รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตายพบว่ากลุ่มตัวอย่างที่มีภาวะเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายมีคะแนนเฉลี่ยของภาวะซึมเศร้าลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิดิ บุคลากรมีความรู้ ทัศนคติและทักษะการป้องกันการฆ่าตัวตายเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีความพึงพอใจต่อการใช้รูปแบบในระดับมาก | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.178 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การฆ่าตัวตาย--การป้องกัน | th_TH |
dc.subject | การฆ่าตัวตาย--การป้องกัน--การมีส่วนร่วมของประชาชน | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันการฆ่าตัวตาย จังหวัดยโสธร | th_TH |
dc.title.alternative | Development of community participation model for prevention suicide of Yasothon Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2016.178 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารการพยาบาล) | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research and development were (1) to study the situation of community’s participation for preventing suicide in Yasothon province. 2) to develop the community participatory model for preventing suicide in Yasothon province and 3) to evaluate the community participatory model for preventing suicide in Yasothon province. This study divided into three phases. The first phase aimed to study the situation of community’s participation for preventing suicide in Yasothon province. The sample included 56 stakeholders. The research instrument was semi structure interview. The second phase aimed to develop the community participatory model for preventing suicide in Yasothon province. The research instrument were TOP Model Process and A-I-C Technique. The last phase aimed to evaluate the community participatory model for preventing suicide in Yasothon province. The research instrument were the depression inventory, the preventing suicide knowledge test, and the satisfaction questionnaire. The samples were 56 stakeholders comprised of the person who was at risk of suicide, relatives, community leaders and health personels. Data were analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation. The research finding were as follows 1 ) There is no community involvement pattern in suicide prevention. The community lacked of the understanding and awareness of the importance of suicide prevention. 2) The community participatory model for preventing suicide in Yasothon province consisted of the stakeholder’s participation, giving knowledge, empowerment, promoting mental health and creating learning community. And 3) The sample who had high risk of suicide rated their depression at lower level. The health personels rated their knowledge, attitude, and practice in suicide prevention at higher level. They rated there satisfaction to the model at high level. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | กชพงศ์ สารการ | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib159447.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License