Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1654
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนกนารถ บุญวัฒนะกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุมาลี สังข์ศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิสากร สกุลแพทย์, 2515--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-09-30T03:57:58Z-
dc.date.available2022-09-30T03:57:58Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1654-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาและพัฒนาบทเรียนสื่อประสมวิชาโยคะเบื้องต้นสําหรับผู้สูงอายุ และ (2) ประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนสื่อประสมวิชาโยคะเบื้องต้นสําหรับผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้สูงอายุที่เป็นสมาชิกศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุเทศบาลนครนนทบุรี จํานวน 50 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสอบถามความต้องการในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ (2) บทเรียนสื่อประสมวิชาโยคะเบื้องต้นสําหรับผู้สูงอายุ (3) แบบสัมภาษณ์ก่อนการฝึก (4) แบบสังเกตระหว่างการฝึก (5) แบบสอบถามหลังการฝึกทําการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ความต้องการในการออกกำลังกายของผู้สูงอายุมีจำนวนร้อยละ 88.70 ซึ่งส่วนใหญ่รู้จักการฝึกโยคะ แต่ไม่เคยฝึกโยคะโดยใช้สื่อประสมมาก่อนสื่อประสมที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย บทเรียนโยคะเบื้องต้นสําหรับผู้สูงอายุ วีดิทัศน์การฝึกโยคะเบื้องต้น สําหรับผู้สูงอายุ และคู่มือการฝึกโยคะเบื้องต้นสําหรับผู้สูงอายุและ (2) ประสิทธิภาพของบทเรียน จากการสัมภาษณ์ก่อนการฝึก ผู้เข้าฝึกอบรม มีวิธีการออกกำลังกายที่หลากหลาย เช่น การเดิน การ เต้นแอโรบิก และโยคะ ตามลำดับ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกกำลังกายแบบโยคะเป็นอย่างดี และคิดว่าตนเองมีความสามารถ ฝึกโยคะได้จากผลการสังเกตพบว่า ผู้สูงอายุมีความสนใจในเนื้อหาของบทเรียน และสามารถปฏิบัติตามสื่อวิดีทัศน์ได้อย่างถูกต้อง และผลจากแบบสอบถามหลังการฝึกพบว่า ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจในความชัดเจนของภาพ ตัวอักษร คําบรรยาย รูปแบบ และขั้นตอนในการฝึกในระดับมากที่สุดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอน--การประเมินth_TH
dc.subjectสื่อการสอนth_TH
dc.subjectการสอนด้วยสื่อ--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินประสิทธิภาพบทเรียนสื่อประสม วิชาโยคะเบื้องต้นสำหรับผู้สูงอายุ จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe performance evaluation of basic yoga lessons with mixed multimedia for Elderly Person, Nonthaburi Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to examine and develop the basic yoga lessons with mixed multimedia for elderly people; and (2) to evaluate the performance of the basic yoga lessons with mixed multimedia for elderly people. The research sample consisted of 50 purposively selected elderly people who were members of the Center for Quality of Life of the Elderly People of Nonthaburi Municipality. The employed research instruments were (1) a questionnaire on the needs for exercise of the elderly people, (2) basic yoga lessons with mixed multimedia for elderly people, (3) a pre-training interview form, (4) a form for observation during the training, and (5) a post-training questionnaire. Data were analyze using the percentage, mean, standard deviation, and content analysis. The results of the study were as follows: (1) the total of 88.70 percent of the elderly people expressed their needs for exercise; the majority of them knew how to practice yoga, but they never practiced with the use of mixed multimedia; the developed lessons with mixed multimedia included video lessons and a manual; and (2) as for the performance of the lessons when interviewed before training, trainees had various ways of exercise such as walking, aerobic dancing, and yoga respectively; trainees had good knowledge and understanding of yoga and thought that they had ability to practice yoga; based on the observation of the researcher, it was found that the elderly people were interested in the contents of the lesson and were able to practice according to the video correctly; and results of post-training questionnaire showed that the elderly people were satisfied with the visibility of the images, letters, descriptions, patterns and stages of training at the highest levelen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_159457.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.8 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons