Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1661
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ดวงเดือน สุวรรณจินดา, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | รักชนก ถาวรพล, 2522- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-09-30T08:45:29Z | - |
dc.date.available | 2022-09-30T08:45:29Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1661 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (วิทยาศาสตร์ศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดนนทบุรี ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์และการสอนแบบปกติ และ (2) เปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดนนทบุรี ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์และการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ใน 2 ห้องเรียน ๆ ละ 40 คน รวม 80 คน ของโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม แล้วจับฉลากให้ห้องหนึ่งเป็นกลุ่มทดลองที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์ และอีกห้องหนึ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่เรียนแบบปกติ เครื่องมือการวิจัย ได้แก่ (1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบใช้โครงงานวิทยาศาสตร์ (2) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (3) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า นนทบุรี ที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์สูงกว่าของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (2) ความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนที่เรียนโดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าของนักเรียนที่เรียนแบบปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2017.127 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกวิทยาศาสตร์ศึกษา --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | วิทยาศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | th_TH |
dc.subject | โครงงานวิทยาศาสตร์--ไทย | th_TH |
dc.title | ผลการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานวิทยาศาสตร์ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จังหวัดนนทบุรี | th_TH |
dc.title.alternative | The effects of the science project learning management on science process skills and scientific problem solving ability of Mathayom Suksa II students in Nonthaburi Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2017.127 | - |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | Objectives of this study were to 1) compare science process skills of Mathayom Suksa II students in Nonthaburi Province learning via science project learning management and traditional teaching method and 2) compare scientific problem solving ability in Nonthaburi Province learning via science project learning management and traditional teaching method. Sample of this study was 80 students in two intact classrooms of Mathayom Suksa II students of Triamudomsuksanomklao Nonthaburi in Nonthaburi Province obtained by cluster random sampling. One classroom was assigned as the experimental group learning via science project learning management and another classroom was assigned as the controlled group learning via traditional teaching method. Research tools were ( 1) learning management plan using science project, (2) science process skills test, and (3) scientific problem solving ability test. Statistics used for data analysis were mean, standard deviation and t-test. Research results revealed that ( 1) science process skills of Mathayom Suksa II students in Nonthaburi Province learning via science project learning management was significantly higher than that of traditional teaching method at .05 level and ( 2) scientific problem solving ability in Nonthaburi Province learning via science project learning management was significantly higher than that of traditional teaching method at .05 level | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
fulltext_159458.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License