Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1670
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | เฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | พิชิตชัย เกิดผล, 2526- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-07T07:28:02Z | - |
dc.date.available | 2022-10-07T07:28:02Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1670 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) รวบรวมข้อมูลสารสนเทศการเกษตรที่สำคัญต่อ การผลิตลำไยโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2) วิเคราะห์ข้อมูลจากระบบสารสนเทศการเกษตรในการจัดการพื้นที่เกษตรกรรมโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ลำไย 3) วิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในแปลงใหญ่จำแนกตามความเหมาะสมของพื้นที่เปรียบเทียบต้นทุนกับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ 4) ศึกษาแนวทางในการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่โดยใช้ข้อมูลจากระบบสารสนเทศการเกษตร ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ระหว่าง 30-40 ปี มีการศึกษาระดับประถมศึกษา มีรายได้เฉลี่ยต่อครัวเรือนระหว่าง 10,000-100,000 บาท ลักษณะทั่วไปของการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ลำไย อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก เกษตรกรส่วนใหญ่ถือครองเอกสิทธิ์ในพื้นที่แบบ ส.ป.ก. ใช้สระเป็นแหล่งนํ้า ใช้ระบบนํ้าแบบร่อง มีลักษณะดินแบบร่วนเหนียว (2) จากข้อมูลระบบสารสนเทศการเกษตร พื้นที่อำเภอวังเจ้าที่จัดทำระบบแปลงใหญ่ คือ ตำบลเชียงทองและตำบลนาโบสถ์ ผู้เข้าร่วมระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ลำไย มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการจำนวน 78 ราย และขนาดพื้นที่ จำนวน 972.28 ไร่ แยกเป็นเกษตรกรที่ปลูกลำไย 3 กลุ่มตามความเหมาะสมของพื้นที่ ดังนี้ ปลูกลำไยในพื้นที่เหมาะสมมาก จำนวน 2 ราย พื้นที่ 20.32 ไร่ ปลูกลำไยในพื้นที่เหมาะสมปานกลาง จำนวน 6 ราย พื้นที่ 64.30 ไร่ ปลูกลำไยในพื้นที่ไม่เหมาะสม จำนวน 70 ราย พื้นที่ 887.66 ไร่ (3) การปลูกลำไยในพื้นที่ไม่เหมาะสมมีต้นทุนทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ พบว่าสูงกว่า 3,932.00 บาท/ไร่ พื้นที่เหมาะสมมีต้นทุนทั้งหมด เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ พบว่าสูงกว่า 2,146 บาท/ไร่ และพื้นที่ไม่เหมาะสมมีรายได้สุทธิ เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ พบว่าน้อยกว่า 3.94 บาท/กิโลกรัม พื้นที่เหมาะสมมีรายได้สุทธิ เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยทั้งประเทศ พบว่าน้อยกว่า 0.96 บาท/กิโลกรัม (4) แนวทางการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่โดยใช้ระบบสารสนเทศการเกษตร ควรเน้นระบบข้อมูลเพื่อการรวมกลุ่มของเกษตรกร เกี่ยวกับการผลิต การซื้อปัจจัยการผลิต การขาย เพื่อเป็นข้อมูลในการสร้างอำนาจการต่อรองของกลุ่ม ส่งเสริมการบริหารต้นทุนและเพิ่มผลผลิต ด้วยการนำเทคโนโลยีมาเข้ามาช่วยในการจัดการให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | ลำไย--การปลูก | th_TH |
dc.subject | ลำไย--การผลิต | th_TH |
dc.subject | สารสนเทศทางการเกษตร | th_TH |
dc.title | ระบบสารสนเทศการเกษตรเพื่อการส่งเสริมการผลิตลำไยในรูปแบบแปลงใหญ่ อำเภอวังเจ้า จังหวัดตาก | th_TH |
dc.title.alternative | Agricultural information system for extension of longan production in large agricultural land plot in Wang Chao District of Tak Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
159217.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 16.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License