Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1674
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจมาศ อยู่ประเสริฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัครชานนท์ สายแก้ว, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-07T08:04:34Z-
dc.date.available2022-10-07T08:04:34Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1674-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (2) การดำเนินงานของศูนย์ฯ (3) ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ของคณะกรรมการศูนย์ฯ (4) กระบวนการจัดการความรู้ของศูนย์ฯ (5) ความคิดเห็นต่อความสำเร็จในการจัดการความรู้ของศูนย์ฯ และ (6) ปัญหาและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการในการจัดการความรู้ของศูนย์ฯ ผลการวิจัย พบว่า (1) คณะกรรมการศูนย์ร้อยละ 66.9 เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.84 ปี ร้อยละ 40.5 มีการศึกษาระดับตอนปลายหรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ จำนวนแรงงานเฉลี่ย 2.32 คน ประสบการณ์ทำนาเฉลี่ย 18.84 ปี การรับรู้องค์ความรู้ด้านการทำนามากที่สุดจากสื่อกิจกรรม รองลงมาคือสื่อเทคโนโลยี (2) การดำเนินการมากที่สุดในด้านคณะกรรมการ รองลงมาคือ ด้านโครงสร้างองค์กร (3) ความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้มากที่สุด ในด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ รองลงมาคือ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ (4) คณะกรรมการศูนย์ฯ มีการปฏิบัติในกระบวนการจัดความรู้มากที่สุด คือด้านการแสวงหาความรู้ รองลงมา คือ ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ (5) คณะกรรมการศูนย์ฯ มีความคิดเห็นต่อปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จ มากที่สุด คือ ด้านโครงสร้างพื้นฐานรองลงมาคือ ด้านผู้นำ (6) คณะกรรมการศูนย์ฯ มีปัญหาในการจัดการความรู้มากที่สุดคือด้านการจัดการความรู้ให้เป็นระบบ รองลงมา คือด้านการประมวลและกลั่นกรองความรู้ สำหรับข้อเสนอแนะต่อเจ้าหน้าที่ ควรมีการฝึกปฏิบัติบุคลากรในหน่วยงานให้มีความรู้ในด้านการจัดการความรู้ และส่งเสริมให้คณะกรรมการศูนย์ฯ มีการจัดการความรู้ให้เป็นระบบข้อเสนอแนะต่อหน่วยงานควรมีการกำหนดแนวทางในการจัดการความรู้ที่ชัดเจน มีการส่งเสริมและสนับสนุนงบประมาณ ในการจัดทำชุดองค์ความรู้ของเกษตรกรต้นแบบประจำศูนย์เรียนรู้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectข้าว--การปลูกth_TH
dc.subjectข้าว--การผลิตth_TH
dc.subjectการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรth_TH
dc.titleการจัดการความรู้ของศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรด้านข้าวในจังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeKnowledge management of agricultural learning center for rice in Nakhon Phanom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159244.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.59 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons