Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1681
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจรรจา สันตยากร, 2497--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-10T07:13:52Z-
dc.date.available2022-10-10T07:13:52Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1681-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการบริหารจัดการของศูนย์ สุขภาพชุมชน 2) ผลของการปฏิบัติงานตามกระบวนการหลักของศูนย์สุขภาพชุมชน 3) ความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการบริหารจัดการกับผลของการปฏิบัติงานตามกระบวนการหลักของศูนย์สุขภาพชุมชนในเขต 2 กระทรวงสาธารณสุข ประชากรที่ศึกษาคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในศูนย์สุขภาพชุมชน เขต 2 จำนวน 475 คน กลุ่ม ตัวอย่างแบบชั้นภูมิได้กลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 217 คน เครื่องมือที่ใชัในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น โดยตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา โดยผู้เชี่ยวชาญ 5 ท่าน วิเคราะห์หาความเที่ยง ของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง ของแบบสอบถามด้านการบริหาร จัดการ 0.86 ด้านปฏิบัติงานตามกระบวนการหลักของศูนย์สุขภาพชุมชน 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม สำเร็จเพื่อหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของตัวแปร โดยหาค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์แบบเพียรสันและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า 1) ภาพรวมของกระบวนการการบริหารจัดการของศูนย์สุขภาพชุมชน อยู่ใน ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 2.68 (SD= .50) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า กระบวนการบริหารด้านการวางแผน การจัดองค์กร การจัดเจ้าหน้าที่ การชี้นำการควบคุมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนด้านการประสานงานอยู่ใน ระดับสูง 2) ภาพรวมระดับการปฏิบัติงานตามกระบวนการหลักของพยาบาลวิชาชีพในศูนย์สุขภาพชุมชน อยู่ ในระด้บสูง ค่าเฉลี่ย 3.13 (SD = .44) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การบริการในสถานบริการในศูนย์สุขภาพ ชุมชน และการดูแลต่อเนื่อง อยู่ในระดับสูง ส่วนการบริการในชุมชน อยู่ในระดับปานกลาง 3) กระบวนการ บริหารจัดการและผลของการปฏิบัติงานตามกระบวนการหลักของศูนย์สุขภาพชุมชนมีความสัมพันธ์กันอย่างมี นัยสำคัญทางสถติ ที่ระดับ 0.5 และการบริหารจัดการด้านการควบคุมและการประสานงานสามารถร่วมกัน ทำนายผลการปฏิบัติงานตามกระบวนการหลักของศูนย์สุขภาพชุมชนได้ร้อยละ 24.6th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.247en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ภาระงานth_TH
dc.subjectศูนย์สุขภาพชุมชนth_TH
dc.titleอิทธิพลการบริหารจัดการของพยาบาลวิชาชีพต่อการปฏิบัติงานตามกระบวนการหลักของศูนย์สุขภาพชุมชน ในเขต 2 กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeThe influence of professional nurses' management on the core process performance at Primary Care Units in Region 2, the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.247en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeA descriptive study was conducted: (l)to study the management processes, (2) to determine the performance of primary care units, and (3) to investigate the relationship between, management processes and the performance of professional nurses at primary care units in the Second Region under the Ministry of Public Health. Stratified sampling technique was used for selecting subjects. Questionnaires were used for collecting the data from 217 professional nurses. Questionnaires consisted of two part: management and performance. The content validity was tested, by three experts. The internal consistency coefficient alphas of the first and the second parts were .86 and.95 respectively. Data were analyzed^by both descriptive statistics (frequency, percentage, mean, standard deviation), and stepwise multiple regression analysis. The results revealed as follows. (l)Professional nurses rated five components of the management processes at moderate level( x" = 2.68, SD = 0.50). They are planning, Organizing, staffing, directing, and controlling. Only one (coordinating) was rated at the high level. (2) Professional nurse expressed the opinion that they provided services at the PCU and provided the continual care at the high level (X =3.13, SD=0.44) while they gave services in communities at the moderate level. Finally, (3) each administrative component correlated significantly to a service process. The controlling factor and the coordinating factor predicted the performance of professional nurses and it accounted for 24.6%en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib102158.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.12 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons