Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1688
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรษมาส แสงประทุม, 2527--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-10T07:59:26Z-
dc.date.available2022-10-10T07:59:26Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1688-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพการดำเนินงานและการบริหารจัดการของกลุ่มเกษตรกร (2) การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในกระบวนการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร (3) การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรคของการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร และ (4) แนวทางการส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกร ผลการวิจัย พบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่มีอายุ 51-60 ปี ระดับการศึกษาตํ่ากว่าปริญญาตรี รายได้ต่อเดือนเฉลี่ย 21,127.14 บาท และระยะเวลาของการเข้ามาเป็นสมาชิกกลุ่ม 1-2 ปี ส่วนการบริหารจัดการกลุ่มผู้ผลิตมังคุดแบบแปลงใหญ่ภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) เกษตรกรมีส่วนร่วมในกระบวนการดำเนินงานของกลุ่มผู้ผลิตมังคุดแบบแปลงใหญ่ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเฉพาะด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ (3) เกษตรกรมีทัศนคติบางเรื่องที่ไม่ตรงกัน อีกทั้งยังไม่คุ้นเคยกับการทำงานเป็นทีม (4) แนวทางส่งเสริมการดำเนินงานของกลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตมังคุดแบบแปลงใหญ่ ควรเริ่มต้นจากการบูรณาการร่วมกันระหว่าง 2 ภาคส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 กลุ่มผู้ผลิตมังคุดแปลงใหญ่ ซึ่งต้องมีการพัฒนาการบริหารจัดการภายในกลุ่มให้มีประสิทธิภาพและเข้มแข็ง ส่วนที่ 2 ภาครัฐ โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่ ควรจะมีการบูรณาการนโยบายหรือกิจกรรมร่วมกัน เพื่อมิให้เกิดความซํ้าซ้อนในการดำเนินกิจกรรมให้แก่กลุ่มเกษตรกร ควรมีการวิจัยและพัฒนานำองค์ความรู้ที่ได้ถ่ายทอดแก่เกษตรกร ทั้งนี้นโยบายของภาครัฐควรมีความต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมังคุด--การผลิต--ไทย--จันทบุรีth_TH
dc.titleการมีส่วนร่วมของเกษตรกรในการผลิตมังคุดแบบแปลงใหญ่ ตำบลวังโตนด อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรีth_TH
dc.title.alternativeFarmers participation for mangosteen production in the large agricultural land plot in Wang Ta Node Sub-district, Na Yai Am District, Chanthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
159320.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.89 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons