Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1694
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorธนพร กลิ่นอ่อน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑารัตน์ มั่นดี, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-11T02:20:32Z-
dc.date.available2022-10-11T02:20:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1694-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยและพัฒนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง ในสถานพยาบาลสังกัดกรมพลาธิการทหารบก ดำเนินการวิจัยระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2549 ถึงเดือน กันยายน 2550 การดำเนินการแบ่งเป็น 2 ระยะได้แก่ ระยะการพัฒนาระบบ โดยการทบทวนวรรณกรรม สัมภาษณ์เจาะลึกผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้แก่ ผู้บริหารระดับนโยบาย ผู้ให้บริการ และผู้ใช้บริการ และการ สนทนากลุ่มผู้ให้บริการเพื่อออกแบบระบบการบริการ และระยะการดำเนินงาน เป็นการทดลองใช้ระบบ ที่พัฒนาขึ้น 5 เดือน ทำการประเมินผลภายหลังจากดำเนินการจากข้อมูลสุขภาพและการสนทนากลุ่มของ ผู้ใช้บริการ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยสถิติเชิงพรรณนา และข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยในระยะการพัฒนาระบบ พบว่า ระบบการดูแลผู้ใช้บริการที่มีภาวะไขมันในเลือด สูงประกอบด้วย 6 ระบบย่อยที่สำคัญคือ (1) ระบบการคัดกรองสุขภาพ (2) ระบบข้อมูล (3) ระบบการ รักษาและการติดตามเพื่อเข้ารับการรักษา (4) ระบบการส่งเสริมสุขภาพในหน่วยงาน (5) ระบบการ ประเมินผลการรักษา แกะ (6) ระบบส่งต่อผู้ป่วย ผลการวิจัยในระยะการดำเนินงานในระบบใหม่พบว่า (1) ปริมาณผู้ใช้บริการที่แพทย์งดยา เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.22 เป็นร้อยละ 5.11 (2) ปริมาณผู้ใช้บริการที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงบรรลุเป้าหมาย (ระดับ LDL-C≤130 มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร) ลดลงจากร้อยละ 55.81 เป็นร้อยละ 34.66(3) ปริมาณ ผู้ใช้บริการที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงได้รับการรักษาหลังการคัดกรองเพิ่มจากร้อยถะ 48.00 เป็นร้อยละ 91.52(4 ) ปริมาณผู้ใช้บริการที่มีภาวะไขมันในเลือดสูงใช้บริการต่อเนื่องเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 19.71 เป็น ร้อยละ 37.87 (5) อัตรากรอบคลุมการตรวจคัดกรองปี 2550 เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 84.93 เป็นร้อยละ 88.75 (6) ผู้ใชับริการที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง มีความพึงพอใจต่อระบบบริการทั้ง 5 ด้านได้แก่ ความสะดวกต่อ การใช้บริการ สถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ คุณภาพการบริการที่ได้รับ ค่าใช้จ่ายของผู้ไช้บริการ อัธยาศัย ความสนใจของผู้ให้บริการ และ ระยะเวลาการใช้บริการ ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงการจัดบริการแก่ผู้ใช้บริการที่มีปัญหาสุขภาพเฉพาะกลุ่มช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริการ และผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจในระบบบริการสูงขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาวะไขมันสูงในเลือด -- การพยาบาลth_TH
dc.subjectบริการการพยาบาล -- ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการดูแลผู้ใช้บริการที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง ในการบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิของสถานพยาบาล สังกัดกรมพลาธิการทหารบกth_TH
dc.title.alternativeA development of caring system for hyperlipidemia at Primary Medical Care Services under the Quartermaster Departmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to develop a caring system for hyperlipidemia clients at primary' medical care services under the Quartermaster Department. This study was divided into 2 phases: a system developing phase and an new model implementation phase. First, the system was developed as follows, (a) Literature was reviewed, (b) In-depth interview was done, and the stakeholder such as the chief executive, clients and care providers were subjects. Finally, (c) Focus group was conducted, and care providers were informants. Then data was used for designing the new system. Second, the new system was implemented for 5 months. Health records and the results of the focus group interview conducted only with the clients were used for evaluating the new system after implementation. Data were analyzed by descriptive statistics and content analysis. The results of the developing phase showed that caring system of hyperlipidemia clients consisted of six sub-systems: (1) a screening system, (2) an information system, (3) a treatment and follow-up system, (4) a health promotion in the workplace system, (5) an evaluation the treatment system, and (6) a referral system. The results of the implement phase were compared with the health statistics during 2006-2007, and they revealed as follows. (1) The percentage of clients who can quit medication increased from 4.22% to 5.11 %. (2) The percentage of clients whose LDL-C was lower than 130 mg/dl decreased from 55.81 to 34.66. (3) The percentage of early diagnosis hyperlipidemia clients who sought treatment increased from 48% to 91.52%. (4) The percentage of the clients who regularly attended their appointments increased from 19.71% to 37.87%. (5) The coverage of the health screening increased from 84.93% to 88.75%. Finally, 6) Clients rated that they were satisfied with the services at the high level in terms of convenience, place, equipment, quality of services, costs, caring behavior of providers, and time used. The results suggested that the new caring system which was designed for specific health problems led to the effectiveness of services and the satisfaction of the clients.en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib105452.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons