Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1702
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเฉลิมศักดิ์ ตุ้มหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมบูรณ์ สุ่นสวัสดิ์, 2481--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-11T03:35:41Z-
dc.date.available2022-10-11T03:35:41Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1702-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2561th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพการผลิตกล้วยน้ำว้าของเกษตรกร (2) ผลการสำรวจการปลูกกล้วยน้ำว้าของเกษตรกร (3) เพื่อศึกษาความต้องการส่งเสริมของเกษตรกรผู้ผลิตและแปรรูปกล้วยน้ำว้า การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ใช้เทคนิคผสมผสานระหว่างการศึกษาเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณซึ่งการศึกษาเชิงคุณภาพกระทำโดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญด้านผู้ผลิตกล้วยน้ำว้าเพื่อสำรวจตัวแปรที่เป็นองค์ประกอบของกลยุทธ์และนำไปพัฒนาเครื่องมือวิจัยสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ แบบสอบถามที่ผ่านการหาคุณภาพด้านความตรงและความเชื่อมั่น โดยตัวอย่างที่ศึกษา จำนวน 39 ชุค สถิติที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา (description statistics analysis) ในการหาค่าสถิติพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถามใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Mean) ผลการวิจัยมีดังนี้ (1) กลุ่มและสถาบันเกษตรกรเป็นส่วนใหญ่เป็นสมาชิกลูกค้า ธ.ก.ส. กองทุนหมู่บ้าน วิสาหกิจชุมชนและสหกรณ์การเกษตร ทำให้กลุ่มการผลิตกล้วยน้ำว้ามีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพเกษตรกรมีการรวมกลุ่ม โดยสามารถเป็นรวมกลุ่มและได้รับความรู้ด้านการผลิตและการตลาดกล้วยน้ำว้าทั้งภาครัฐและเอกชน ทำให้เกษตรกรมีประสบการณ์การปลูกกล้วยน้ำว้า เกษตรกรผู้ปลูกกล้วยส่วนใหญ่ไม่มีหนี้สิน (2) ด้านสภาพพื้นที่เกษตรกรที่ปลูกกล้วย มีลักษณะการผลิตกล้วยน้ำว้าโดยปลูกผสมผสาน พันธ์กล้วยน้ำว้าที่ปลูกในสวนของเกษตรกร พบว่าทราบสายพันธ์ (ค่อม ขาว นวล) และขยายพันธ์เอง (หน่อ เนื้อเยื่อ เหง้า) มีการดูแลรักษาของเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้แหล่งน้ำจากธรรมชาติ (3) เกษตรกรมีความต้องการส่งเสริมของเกษตรกรผู้ผลิตและแปรรูปกล้วยน้ำว้าจากหน่วยงานราชการและเอกชนทางด้านการพัฒนา ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านการออกแบบบรรจุภัณฑ์ ส่งเสริมให้มีการสร้างระบบเครือข่ายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่ผลิตสินค้าชนิดเดียวกันและด้านแปรรูปผลิตภัณฑ์กล้วยน้ำว้าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectกล้วยน้ำว้า--การผลิตth_TH
dc.subjectกล้วยน้ำว้า--การแปรรูปth_TH
dc.subjectการแปรรูปผลิตผลเกษตร--ไทย--เพชรบุรีth_TH
dc.titleการส่งเสริมการผลิตและแปรรูปกล้วยน้ำว้าของสมาชิกวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านเยาวชนแปรรูปผลผลิตเกษตรบ้านห้วยสาลิกา อำเภอหนองหญ้าปล้อง จังหวัดเพชรบุรีth_TH
dc.title.alternativeExtension guideline for cultivated Namwa banana production and processing of Ban Huai Sarika Youth and Housewise farmer group community enterprise in Nong Ya Plong District, Phetchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162181.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons