Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1709
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ปรางค์ทิพย์ ตาเรือนสอน, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-11T06:31:30Z | - |
dc.date.available | 2022-10-11T06:31:30Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1709 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการบริหารจัดการการ พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของหัวหน้าหอผู้ป่วย (2) ศึกษาพฤติกรรมบริการทางการพยาบาลด้านการพิทักษ์สิทธิ ผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารจัดการการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วย ของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับพฤติกรรมบริการทางการพยาบาลด้านการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก กลุ่มประชากร เป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานให้บริการแก่ผู้ใช้บริการในโรงพยาบาล แม่สอด จังหวัดตาก ทุกคน จำนวน 204 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบไปด้วย แบบสอบถามคุณลักษณะทั่วไปของประชากร การบริหารจัดการการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของหัวหน้าหอ ผู้ป่วย และพฤติกรรมบริการทางการพยาบาลด้านการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชฺาชีพ ซึ่งผ่านการ ตรวจสอบความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค ของ แบบสอบถามแต่ละส่วน ได้ค่าสัมประสิทธิความเที่ยงเท่ากับ 0.97 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลใช้ โปรแกรมสำเร็จรูปหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การบริหารจัดการการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของหัวหน้าหอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก อยู่ในระดับปานกลาง (2) พฤติกรรมบริการทางการพยาบาลด้านการ พิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก มีการปฏิบัติในระดับมาก (3) การบริหารจัดการการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมบริการ ทางการพยาบาลด้านการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก อย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.362 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล | th_TH |
dc.subject | สิทธิการรักษาพยาบาล | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับพฤติกรรมบริการทางการพยาบาลด้านการพิทักษ์สิทธิผู้ป่วยของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between the nursing management of Head Nurses on patient's advocacy and nursing service behaviors of professional nurses on patient's advocacy at Maesot Hospital, Tak Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.362 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | This purpose of this descriptive research were:(l) to study the nursing management of Head Nurses on patient’s advocacy (2) to explore the nursing service behaviors of professional nurses on patient’s advocacy, and (3) to find the relationship between the nursing management of patient ’s advocacy and the nursing service behaviors of professional nurses at Maesot Hospital, Tak Province The research population was 204 professional nurses providing nursing services to patients. Questionnaires were used for collecting data and consisted of three sections: demographic data the nursing management and the nursing service behaviors. These questionnaires were tested for content validity and reliability. The Cronbach Alpha reliability coefficients of those two sections were 0.97 and 0.94 respectively. Research data were analyzed by descriptive statistics (percentage,mean,and standard dcviation)and Pearson’s Product Moment Correlation. Research findings were as follows: (1) Professional nurses rated the nursing management of patient’s advocacy at the moderate level. (2) They rated their nursing service behaviors on patient’s advocacy at the high level. Finally (3) the nursing management of Head Nurses on patient’s advocacy correlated significantly with their nursing service behaviors on patient’s advocacy .(p < .01 ) at the lowest level (r = 0.29) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib107362.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.68 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License