Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1711
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์th_TH
dc.contributor.advisorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.contributor.authorอารีย์ ชวนชม, 2507-th_TH
dc.date.accessioned2022-10-11T07:05:32Z-
dc.date.available2022-10-11T07:05:32Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1711en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนเขต 2 ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ (2) ศึกษากระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนเขต 2 ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับกระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ตามการรับรู้ของ พยาบาลประจำการ ในโรงพยาบาลชุมชนเขต 2 ประชากรคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงาน ในโรงทยาบาลชุมชนในจังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดตาก จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 1,619 คน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดตาก จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 303 คน โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างจากผู้ให้ข้อมูล โดยใช้สูตร Taro Yamane หลังจากนั้นมีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามการตรวจสอบความตรงของข้อหาและทดสอบความเที่ยงของเครื่องมือ คำนวณค่าความเที่ยงโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงแบบสอบถามในส่วนของพฤติกรรมผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยและกระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาล เท่ากับ .98 และ .97 ตามลำดับรวบรวมข้อมูลทางไปรษณีย์ ได้รับแบบสอบถามที่สมบูรณ์คืน ร้อยละ 93.23 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จเป็นค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) พฤติกรรมผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลชุมชนเขต 2 ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ มีพฤติกรรมเป็นแบบกิจสัมพันธ์ (2) กระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนเขต 2 ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.64 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.72 (3) พฤติกรรมผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยไม่มีความสัมพันธ์กับกระบวนการพัฒนาเละรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลชุมชนเขต 2 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.363en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาล--การรับรองคุณภาพth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมผู้นำของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับกระบวนการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการในโรงพยาบาลชุมชน เขต 2th_TH
dc.title.alternativeRelationship between leadership behaviors of Head Nurses and their acknowledgement of the hospital quality improvement and accreditation as perceived by professional nurses at Community Hospital, Region 2en_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.363en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (1) to examine the perceptions of professional nurses on leadership behaviors of head nurses, (2) to study the acknowledgement of the hospital quality improvement and accreditation of head nurses, and (3) to find the relationship between leadership behaviors of head nurses and their acknowledgement of the hospital quality improvement and accreditation at community hospitals, Region 2. The population consisted of 1,619 professional nurses who worked at community hospitals, Region 2. The sample group was calculated by Taro Yamane formula and selected by proportional stratified random sampling and simple random sampling techniques according to the size of hospitals. The sample comprised 321 professional nurses. The research instruments were questionnaires and consisted of two parts: leadership behaviors of head nurses and their acknowledgement of the hospital quality improvement and accreditation. Content validity was tested. The Cronbach Alpha reliability coefficients of the second and the third parts were 0.98 and 0.97 respectively. The statistical devices used for data analysis were both descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) and Chi Square. The research findings were as follows. (1) Professional nurses rated the leadership behaviors of their head nurses indicating that they performed task-oriented behaviors more than peer relation oriented ones. (2) They rated the acknowledgement of the hospital quality improvement and accreditation of their head nurses at the medium level (M = 3.64, SD = .72). Finally, (3) there was no correlation between the leadership behaviors of their head nurses and their acknowledgement of the hospital quality improvement and accreditation.en_US
dc.contributor.coadvisorสุภมาส อังศุโชติth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib107363.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons