Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1713
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูลสุข หิงคานนท์ | th_TH |
dc.contributor.author | บัวผัน เขตการ, 2510- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-11T07:41:37Z | - |
dc.date.available | 2022-10-11T07:41:37Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1713 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณลักษณะผู้นำของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัคนครสวรรค์ (2) ศึกษาประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนครสวรรค์ และ (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะผู้นำของพยาบาลวิชาชีพและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลชุมชนจังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 210 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน โดยสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของโรงพยาบาล และการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือวิจัยคือ แบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามคุณลักษณะผู้นำของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ เท่ากับ 0.98 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป โดยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียธ์สัน ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณลักษณะผู้นำของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลชุมชน โดยภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.96 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .62) (2) ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลชุมชน โดยภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.66 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน .68) (3) คุณลักษณะผู้นำของพยาบาลวิชาชีพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ ที่ระดับนัยสำคัญ .01 (r - .749) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล--ภาระงาน | th_TH |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางการศึกษา | th_TH |
dc.subject | สมรรถภาพในการทำงาน | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะผู้นำและประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพยาบาลชีพในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครสวรรค์ | th_TH |
dc.title.alternative | Relationship between leadership characteristics of professional nurses and the effectiveness of their performance at Community Hospitals in Nakhon Sawan Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (1) to analyze the current situation and need for learning organization of the Nursing Department at Waengyai Hospital in Khonkaen Province, (2) to develop a model towards learning organization of the Nursing Department, and (3) to evaluate the new learning organization model. The subjects of this research were twenty professional nurses. Three research instruments developed by the researcher were used. They were (1) a situation analysis form for being a learning organization, (2) guidelines for developing the model, and (3) an evaluation form of the new learning organization model. The content validity was verified by four experts. The Cronbarch Alpha reliability coefficient of the learning organization situation questionnaires was 0.95. Research data were analyzed by descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) and content analysis. The research findings were as follows. (1) Professional nurses rated the need for learning organization of the Nursing Department at Waengyai Hospital were at the high level. (2) The new model of learning organization was composed of nine components as follows: (a) Leadership, (b) Shared vision, (c) Organization atmosphere, (d) Team learning, (e) Organization management, (f) Application technology, (g) System thinking,(h) Personal mastery, and (i) Mental models. Finally, (3) the new learning organization model co-responded to the context of the Nursing Department. Above all, the new model led to the real implementation of loaming organization at Wacngyai Hospital. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | สุภมาส อังศุโชติ | th_TH |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib107364.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 5.82 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License