Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1715
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | บุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | บุญศรี พรหมมาพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | โกวิน วิวัฒนพงศ์พันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | วุฒิพร พรหมราษฎร์, 2506- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-11T08:19:16Z | - |
dc.date.available | 2022-10-11T08:19:16Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1715 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนื้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการณ์และความต้องการเป็นองค์กรแห่ง การเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น (2) พัฒนา รูปแบบสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น และ (3) ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกลุ่ม การพยาบาลโรงพยาบาลแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น ประชากรที่ศึกษา คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการทุกคนที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยผู้วิจัยสร้างขึ้น 3 ชุด ได้แก่ (1) แบบวิเคราะห์สภาพการณ์ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (2) ประเด็นคำถามการ สนทนากลุ่ม และ (3) แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ ชึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตาม เนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 4 คน วิเคราะห์ค่าความเที่ยงสัมประสิทธิสหสัมพันธ์อัลฟาของครอนบาค ของแบบ วิเคราะห์สภาพการณ์ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการณ์ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น โดยรวมทุกองค์ประกอบอยู่ในระดับสูง (X=3.71 ) (2) รูปแบบสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น มีทั้งหมด 9 องค์ประกอบ คือ 1) ภาวะผู้นำ 2) การสร้างวิสัยทัศน์ ร่วมกัน 3) บรรยากาศองค์กร 4) การเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 5) การบริหารองค์กร 6) เทคโนโลยีที่ นำมาใช้ 7) การคิดอย่างเป็นระบบ 8) การเป็นบุคคลที่รอบรู้ 9) การมีแบบแผนทางความคิด และ (3) รูปแบบสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับบริบทของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลแวงใหญ่ และมีความสามารถนำรูปแบบสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ไปใช้ได้จริง | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.251 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | การเรียนรู้องค์การ | th_TH |
dc.subject | การพยาบาล | th_TH |
dc.subject | การบริหารองค์ความรู้ | th_TH |
dc.title | การพัฒนารูปแบบสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ อำเภอแวงใหญ่ จังหวัดขอนแก่น | th_TH |
dc.title.alternative | A developing model for a learning organization for the Nursing Department in Waengyai Hospital, Waengyai District, Khon Kaen Province | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.251 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were: (1) to analyze the current situation and need for learning organization of the Nursing Department at Waengyai Hospital in Khonkaen Province, (2) to develop a model towards learning organization of the Nursing Department, and (3) to evaluate the new learning organization model. The subjects of this research were twenty professional nurses. Three research instruments developed by the researcher were used. They were (1) a situation analysis form for being a learning organization, (2) guidelines for developing the model, and (3) an evaluation form of the new learning organization model. The content validity was verified by four experts. The Cronbarch Alpha reliability coefficient of the learning organization situation questionnaires was 0.95. Research data were analyzed by descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) and content analysis. The research findings were as follows. (1) Professional nurses rated the need for learning organization of the Nursing Department at Waengyai Hospital were at the high level. (2) The new model of learning organization was composed of nine components as follows: (a) Leadership, (b) Shared vision, (c) Organization atmosphere, (d) Team learning, (e) Organization management, (f) Application technology, (g) System thinking,(h) Personal mastery, and (i) Mental models. Finally, (3) the new learning organization model co-responded to the context of the Nursing Department. Above all, the new model led to the real implementation of loaming organization at Wacngyai Hospital | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib107365.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 6.66 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License