Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1729
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพลสราญ สราญรมย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทรงศักดิ์ สีหานาค, 2521--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-17T02:27:48Z-
dc.date.available2022-10-17T02:27:48Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1729-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม.(ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2562th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 2) การดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน 3) ปัญหาเกี่ยวกับการดำเนินงานของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน และ 4) แนวทางการส่งเสริมกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดตราด ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ คือ 1) สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนระดับปานกลางในจังหวัดตราด รวม 718 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของ ทาโร่ ยามาเน่ ที่ค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.08 ได้กลุ่มตัวอย่าง 128 ราย สุ่มแบบง่าย 2) นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรในจังหวัดตราดที่รับผิดชอบงานวิสาหกิจชุมชนระดับอำเภอ จำนวน 7 อำเภอ อำเภอละ 1 คน จำนวน 7 คน ศึกษาจากประชากรทั้งหมด เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย จำนวน 2 เครื่องมือ ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ และ 2) การสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) กลุ่มวิสาหกิจชุมชนส่วนใหญ่ประกอบกิจกรรมแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร/เครื่องดื่ม อายุการจัดตั้งเฉลี่ย 3.67 ปี รายได้ในครัวเรือนเฉลี่ย 135,703.12 บาท/ปี มีรายได้จากการเข้าร่วมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน เฉลี่ย 21,511.71 บาท/ปี 2) ระดับการดำเนินงานใน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการวางแผน ด้านการจัดองค์การ ด้านการบังคับบัญชา ด้านการประสานงาน และด้านการควบคุม พบว่า มีความคิดเห็นเกี่ยวกับการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก 3) ระดับปัญหาในการดำเนินงานทั้ง 5 ด้าน พบว่า อยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะ คือ ต้องการให้หน่วยงานของรัฐช่วยเหลือเรื่องการจัดหาแหล่งเงินทุน ลดดอกเบี้ย และให้หน่วยงานของรัฐช่วยหาตลาดเพื่อรองรับสินค้า และ 4) แนวทางการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ (1) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างกลุ่ม และสมาชิกภายในกลุ่ม (2) การศึกษาดูงานกลุ่มที่ประสบความสำเร็จ (3) สนับสนุนการจัดทำระบบบัญชี (4) สนับสนุนการจัดกิจกรรมการแสดงหรือจำหน่ายสินค้าในงานประจำปีและงานอื่นๆ ตามความเหมาะสม (5) การส่งเสริมการสร้างเครือข่ายกลุ่มในลักษณะการเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และ (6) ส่งเสริมให้มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมผ่านช่องทางต่างๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิสาหกิจชุมชน--ไทย--ตราดth_TH
dc.subjectการพัฒนาการเกษตร--ไทย--ตราดth_TH
dc.titleแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดตราดth_TH
dc.title.alternativeOperations development guidelines of community enterprise in Trat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
162192.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons