Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1745
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทักษิณา สิทธิธรรม, 2509--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-18T02:19:19Z-
dc.date.available2022-10-18T02:19:19Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1745-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษา ปัจจัยส่วนบุคคล ของพยาบาล วิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนเขต 1 กระทรวงสาธารณสุข (2) ศึกษาการติดต่อสื่อสาร บรรยากาศองค์การ การ สนับสนุนการผึกอบรมขององค์การพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขต 1 กระทรวง สาธารณสุข (3) ศึกษาการบริหารแบบมีส่วนร่วมขององค์การพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชน เขต 1 กระทรวงสาธารณสุข (4) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารแบบมีส่วนร่วมของ องค์การพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขต 1 กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาทชุมชน เขต 1 จำนวน 333 คน โดยการ สุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใซ้ในการรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถาม 5 ส่วน คือปัจจัยส่วนบุคคล การ ติดต่อสื่อสาร บรรยากาศองค์การ การสนับสนุนการฝึกอบรมขององค์การพยาบาลและการบริหารแบบมีส่วน ร่วม ชี่งมีลักษณะแบบมาตราส่วนประมาณค่า ผ่านการตรวจสอบความตรงเซิงเนื้อหาและมีค่าสัมประสิทธิความ เที่ยงในส่วนที่ 2 ถึงส่วนที่ 5 เท่ากับ 0.85 0.90 0.90 และ 0.93 ตามลำดับสถิติทิ่ใช้ไนการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสัมประสทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสหสัมพันธ์ถดถอยพหุคูณ แบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) อายุของพยาบาลวิชาชีทชึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 31-35 ปี มี ประสบการณ์ทำงานระหว่าง 11-15 ปี (2) พยาบาลวิชาชีพมีการรับรู้ว่าการติดต่อสื่อสารขององค์การพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง บรรยากาศองค์การอยู่ในระดับสูง การสนับสนุนการฝึกอบรมอยู่ในระดับสูง (3) การบริหารแบบมีส่วนร่วมขององค์การพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ อยู่ในระดับสูง (4 ) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ บริหารแบบมีส่วนร่วมขององค์การพยาบาลคือ การสนับสนุนการฝึกอบรม การติดต่อสื่อสาร ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ บรรยากาศองค์การ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารแบบมีส่วนร่วมขององค์การพยาบาลโรงพยาบาลชุมชนเขต 1 กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeFactors influencing participatory administration of nursing organization at community hospitals in region 1 under the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were ะ (1) to study personal factors of professional nurses, (2) to investigate communication, organizational climate, and training support by nursing organizations, (3) to describe the level of participatory' administration of nursing organizations, and (4) to examine factors influencing participatory administration of nursing organizations at community hospitals in region 1 under the Ministry' of Public Health. The sample comprised 333 professional nurses who worked at community hospitals in region 1 under the Ministry of Public Health. They were selected by stratified random sampling. Five sets of questionnaires covering personal factors, communication, organizational climate, training support, and participatory administration were used as research tools. They were tested for reliability and validity. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the second to the fifth sets were 0.85, 0.90, 0.90, and 0.93 respectively. The statistical devices used for data analysis were both descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) Pearson product- moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The findings were as follows. (1) Most professional nurses were aged 31- 35 years, had between 11-15 years working experience. (2) Professional nurses rated communication in their organizations at the moderate level, but they rated their organizational climate and training support both at the high level. (3) Professional nurses rated they participation in administration of their nursing organizations at the high level. Finally, (4) the factors which influenced participatory administration of nursing organizations were training support, communication, one personal factor: age. and organizational climate (p< 0.05)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108786.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons