Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1751
Title: | ผลของวัสดุปลูกและความถี่การให้น้ำต่อการรอดตายและเจริญเติบโตของเอื้องสายหลวง (Dendrobium anosmum) |
Other Titles: | Effects of growing media and irrigation frequencies on survival and growth of Dendrobium anosmum |
Authors: | สัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษา กุลชลี บุญทา, อาจารย์ที่ปรึกษา อิศร์ สุปินราช, 2507- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ เอื้องสายหลวง--การปลูก กล้วยไม้--การปลูก |
Issue Date: | 2556 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษา 1) ผลของวัสดุปลูกและความถี่ของการให้น้าต่ออัตราการรอดตายของต้นกล้าเอื้องสายหลวง 2) ผลของวัสดุปลูกและความถี่ของการให้น้าต่อการเจริญเติบโตของต้นกล้าเอื้องสายหลวง และ 3) ต้นทุนของวัสดุปลูกของต้นกล้าเอื้องสายหลวง จากผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพแวดล้อมในการปลูกเอื้องสายหลวงมีอุณหภูมิเฉลี่ย 32.66 องศาเซลเซียส และความชื้นสัมพัทธ์เฉลี่ย 61.76 เปอร์เซ็นต์ 2) ผลของวัสดุปลูกและความถี่การให้น้าต่ออัตราการรอดตาย เอื้องสายหลวงในทุกปัจจัยมีอัตราการรอดตาย 100 เปอร์เซ็นต์ 3) ผลของวัสดุปลูกและความถี่การให้น้าต่อการเจริญเติบโตในด้านความกว้างใบ ความยาวใบ จานวนใบ จานวนราก ความยาวราก น้าหนักสด และน้าหนักแห้ง ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติอย่างมีนัยสาคัญ แต่การใช้สแฟกนัมมอส และการให้น้า 1 ครั้งต่อ 1 วัน มีแนวโน้มทาให้การเจริญ เติบโตในทุกด้านสูงสุด 4) ด้านต้นทุนการผลิต พบว่า พีทมอสเป็นวัสดุปลูกที่มีราคาต่าสุด คือ ราคากระถางละ 92.55 บาท แต่คุณภาพของต้นเอื้องสายหลวงยังเป็นรองการปลูกด้วยสแฟกนัมมอส และ กาบมะพร้าว |
Description: | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 |
URI: | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1751 |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
137849.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License