Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินดา ขลิบทอง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorส่งเสริม หอมกลิ่น, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมนทิพ วรรณทรัพย์ศิริ, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-18T04:18:41Z-
dc.date.available2022-10-18T04:18:41Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1761-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทั่วไปของผู้สานลายกระติบและภูมิปัญญาด้านการสานลายกระติบบ้านคาเตย 2) องค์ความรู้และลายกระติบบ้านคาเตย 3) กระบวนการจัดการความรู้ในการผลิตลายกระติบบ้านคาเตย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ผู้สานกระติบลายบ้านคาเตยเป็นผู้หญิงทั้งหมด 20 ราย ร้อยละ 40.0 มีอายุอยู่ระหว่าง 34-45 ปี ร้อยละ 65.0 จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ร้อยละ 50.0 มีจานวนสมาชิกในครัวเรือน 4 คน และแรงงานใน ครัวเรือนส่วนใหญ่ 2 คน อาชีพหลักของสมาชิกทั้งหมด คือ ทานา ร้อยละ65.0 อาชีพรองคือ สานกระติบข้าว ร้อยละ 50.0 รายได้ทั้งในและนอกภาคอยู่ระหว่าง100,000-200,000 บาทต่อครัวเรือนต่อปี ร้อยละ 40.0 ประสบการณ์ในการสานกระติบข้าว อยู่ระหว่าง 20 -30 ปี ร้อยละ 75.0 แหล่งที่มาของไม้ไผ่ที่ใช้สานกระติบส่วนใหญ่ซื้อจากภายในหมู่บ้าน ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการสานลายกระติบบ้านคาเตย จานวน 3 ปี ลายกระติบดั้งเดิมของการสานกระติบ คือลายขัด และมีการพัฒนาการสานลายกระติบจนถึงปัจจุบัน ลายจากการสานกระติบบ้านคาเตยแต่ละลายไม่มีความหมาย ส่วนใหญ่เป็นการเลียนแบบจากธรรมชาติ เครื่องใช้ และดัดแปลงจากลายเดิม นอกจากนั้นยังมีการดัดแปลงจากผู้สานลายกระติบเอง เช่น ลายตัวอักษร 2) ด้านการเก็บรวบรวมลายกระติบ พบว่า ลายกระติบบ้านคาเตย มีทั้งหมดจานวน 15 ลาย แต่ไม่มีการเก็บรวบรวมลายอย่างเป็นลายลักษณ์อักษร 3) ด้านกระ-บวนการจัดการความรู้ของผู้สานลายกระติบบ้านคาเตย ยังมีการจัดการที่ไม่เป็นระบบ พบว่าเป็นองค์ความรู้ฝังลึกในตัวบุคคล ที่ได้รับการถ่ายทอดมาจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น เป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นในเรื่องของการจักสานด้วยไม้ไผ่เป็นผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจาวันมานาน ด้านการแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ เกิดขึ้นเฉพาะภายในชุมชน ข้อเสนอแนะในด้านกระบวนการจัดการความรู้ลายกระติบบ้านคาเตย ประกอบด้วย (1) การกาหนดชื่อผลิตภัณฑ์ โดยผ่านการตัดสินใจของกลุ่มผู้สานลายกระติบบ้านคาเตย (2) การแสวงหาความรู้จากทั้งภายในและภายนอกกลุ่มเพื่อก่อให้เกิดความรู้เฉพาะในกลุ่มผู้สานลายกระติบบ้านคาเตย (3) การแลกเปลี่ยนความรู้กัน ภายในกลุ่ม เพื่อให้สมาชิกมีความรู้และเกิดทักษะความรู้ในตัวบุคคล (4) การจัดเก็บความรู้ควรมีการบันทึกกระบวนการผลิตและวัสดุที่ใช้ในการสานลายกระติบด้วยการจดบันทึก และภาพถ่าย ทาให้สมาชิก ผู้สนใจที่ต้องการเรียนรู้ มีความสะดวก (5) การถ่ายทอดความรู้ ควรมีรูปแบบอย่างเป็นทางการ โดยกระบวนการดังกล่าวมีลักษณะเป็นวงจรที่ถ่ายทอดความรู้แล้ว สามารถย้อนกลับมากาหนดความรู้ในรูปแบบอื่นได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.307-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการบริหารองค์ความรู้--ไทย--นครพนมth_TH
dc.subjectหัตถกรรม--ไทย--นครพนมth_TH
dc.titleการจัดการความรู้ลายกระติบของบ้านคำเตย ตำบลคำเตย อำเภอเมือง จังหวัดนครพนมth_TH
dc.title.alternativeKnowledge management of woven bamboo container weaving in Ban Kham Toei, Kham Toei Sub-District, Mueang District, Nakhon Phanom Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.307-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
139960.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons