Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1773
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorหฤษฎี ภัทรดิลก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorอัจฉรา จิตตลดากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorภัสรา รติธรรมกุล, 2488--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-18T07:45:09Z-
dc.date.available2022-10-18T07:45:09Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1773-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractวัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาสภาพการปลูกถั่วเหลืองในฤดูแล้งหลังการทานาของเกษตรกร 2) เพื่อศึกษาการจัดการการผลิตถั่วเหลืองในฤดูแล้งหลังการทานาของเกษตรกร และ 3) เพื่อวิเคราะห์การจัดการการผลิตถั่วเหลืองในฤดูแล้งหลังการทานาของเกษตรกรตาบลแม่เงิน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรร้อยละ 95.83 เตรียมดินโดยตัดตอซังข้าววางกระจายแล้วเผา ร้อยละ 97.92 ปลูกถั่วเหลืองพันธุ์เชียงใหม่ 60 โดยร้อยละ 47.92 คลุกไรโซเบียมกับเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูก ร้อยละ 66.67 ปลูกโดยวิธีโรยเป็นแถว อัตราเมล็ดพันธุ์ 20 กิโลกรัมต่อไร่ ให้น้า 7-14 วันต่อครั้ง ร้อยละ 79.17 ใช้ปุ๋ยเคมีสูตร 25-5-5 ในอัตราเฉลี่ย 8.50 กิโลกรัมต่อไร่ ร้อยละ 62.50 ใช้สารเคมีพาราควอตไดคลอไรด์กาจัดวัชพืช กาจัดโรคระบาดราน้าค้างด้วยวิธีเผาและพ่นด้วยสารเคมีแมนโคแซบ เก็บเกี่ยวเมื่อฝักถั่วเหลืองเริ่มเป็นสีน้าตาล ได้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ 265.42 กิโลกรัม จาหน่ายแบบคละเกรดให้กับพ่อค้าในหมู่บ้าน ราคาเฉลี่ย 15.67 บาทต่อกิโลกรัม 2) การวิเคราะห์การจัดการการผลิตถั่วเหลืองพบว่าเกษตรกรควรปรับปรุงการจัดการปลูกในขั้นตอนการเตรียมดิน อัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ สูตรปุ๋ยเคมี และการเก็บเกี่ยว 3) จากการวิเคราะห์การจัดการการผลิตถั่วเหลือง เกษตรกรที่เก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ปลูกควรจัดทาแปลงพันธุ์ซึ่งต้องปฏิบัติรักษาอย่างประณีตทุกขั้นตอนและเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์ที่ความชื้นไม่เกินร้อยละ 10 เตรียมดินโดยไถดะ ไถแปร และไถพรวนแทนการเผาตอซัง ใส่ปุ๋ยเคมีก่อนปลูกสูตร 25-5-5 ในอัตรา 8.50 กิโลกรัมต่อไร่ จากนั้นจัดการปลูกด้วยวิธีโรยเป็นแถว ให้น้าและจัดการป้องกันศัตรูทั้งวัชพืชและโรคแมลงอย่างถูกต้อง เพื่อให้ถั่วเหลืองที่ขายได้ราคาที่สูงขึ้น เกษตรกรควรตากเมล็ดถั่วเหลืองให้แห้งและคัดเกรดก่อนจาหน่าย และมีการรวมกลุ่มจาหน่ายเพื่อเพิ่มอานาจการต่อรองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.302-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectถั่วเหลือง--การผลิต--ไทย--เชียงรายth_TH
dc.titleการจัดการการผลิตถั่วเหลืองในฤดูแล้งหลังการทำนาของเกษตรกรตำบลแม่เงิน อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายth_TH
dc.title.alternativeDry season soybean production management of farmers in Mae Ngoen Sub-district, Chiang Saen District, Chiang Rai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.302-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140337.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.86 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons