Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1780
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorบำเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศุภมิตร ชูเกียรติศิริ, 2518--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-19T02:02:59Z-
dc.date.available2022-10-19T02:02:59Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1780-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยการจัดการดินโดยการใช้พืชปุ๋ยสดของเกษตรกรในจังหวัดนครนายก มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพทางสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกร (2) การปรับปรุงบารุงดินโดยการใช้พืชปุ๋ยสดของเกษตรกร (3) ความคิดเห็นในการปรับปรุงบารุงดินด้วยพืชปุ๋ยสดของเกษตรกร (4) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความคิดเห็นในการปรับปรุงบารุงดินของเกษตรกร (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรth_TH
dc.description.sponsorshipผลการวิจัยพบว่า (1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุมากกว่า 51 ปีขึ้นไป สาเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา เกษตรกรส่วนใหญ่ผ่านการอบรมด้านการพัฒนาที่ดิน จานวน 1 ครั้ง มีพื้นที่ถือครองเป็นของตัวเอง และมีจานวนแรงงานในครัวเรือน จานวน 2 คน จานวนพื้นที่ปลูกข้าว 1-30 ไร่ จานวนพื้นที่ปลูกพืชอื่นจานวน 1-10 ไร่ต่อ และจานวนพื้นที่ทาการเกษตรอื่นๆจานวน 1-30 ไร่ (2) ด้านการวางแผนการปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงดิน พบว่าเกษตรกรเคยปลูกพืชปุ๋ยสดในแปลงนามาก่อนและยังคงจะปลูกต่อไปทั้งในปัจจุบันและปีถัดไป ด้านการนาความรู้ไปปฏิบัติ ผลการวิจัยพบว่า ก่อนการได้รับการอบรมด้านการพัฒนาที่ดิน เกษตรกรปลูกถั่วพุ่มเป็นพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบารุงดิน แต่หลังรับการอบรมเกษตรกรปลูกปอเทืองเป็นพืชปุ๋ยสด เกษตรกรได้รับเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสดจานวน 25 – 50 กิโลกรัมต่อคน ส่วนใหญ่ได้รับเป็นครั้งแรก เกษตรกรใช้เมล็ดพันธุ์อัตรา 5 กก./ไร่ และปลูกโดยวิธีการหว่านแล้วไถกลบเมื่อปอเทืองมีอายุ 50 วัน ด้านผลผลิต ผลการวิจัยพบว่า ผลผลิตข้าวก่อนการปลูกพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบารุงดินอยู่ระหว่าง 401-600 กิโลกรัม แต่เมื่อมีการใช้พืชปุ๋ยสดผลผลิตเพิ่มขึ้นเป็น ระหว่าง 601-700 กิโลกรัม (3) ด้านความคิดเห็น เกษตรกรเห็นด้วยในระดับมาก ว่าการใช้ปุ๋ยพืชสดช่วยทาให้สุขภาพและสิ่งแวดล้อมดีขึ้น ช่วยเพิ่มปริมาณธาตุอาหารให้กับดิน เพิ่มปริมาณอินทรียวัตถุให้กับดิน ช่วยลดต้นทุนและเพิ่มรายได้ ทาให้ดินร่วนซุยสะดวกต่อการเตรียมดินและไถพรวน เพิ่มคุณภาพของพืชของเกษตรกร ช่วยเพิ่มผลผลิตพืชของเกษตรกร ลดการสูญเสียหน้าดินอันเกิดจากการชะล้างพังทลาย ช่วยควบคุมวัชพืช ลดปริมาณการใช้สารเคมี ช่วยรักษาความชุมชื้นให้กับดินและทาให้ดินอุ้มน้าได้ดีขึ้นมาก (4) ผลการทดสอบสมมติฐานผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความคิดเห็นในการปรับปรุงบารุงดินของเกษตรกร คือ ปัจจัยทางสังคม ได้แก่ อายุ การศึกษา ตาแหน่งทางสังคม การอบรมด้านพัฒนาที่ดิน ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ ได้แก่ จานวนแรงงานในครัวเรือน ลักษณะการถือครองที่ดิน ขนาดพื้นที่ปลูกข้าวและทาการเกษตรอื่นๆth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.299-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectปุ๋ยพืชสดth_TH
dc.subjectการจัดการดิน--ไทย--นครนายกth_TH
dc.titleการใช้พืชปุ๋ยสดในการจัดการดินของเกษตรกร จังหวัดนครนายกth_TH
dc.title.alternativeGreen manure utilization for soil management by farmers in Nakhon Nayok Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.299-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140597.pdf10.47 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons