Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1781
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเรืองเดช ไพบูลย์วรชาติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุพิชญ์ ฤทธิชาญชัย, 2504--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-19T02:24:38Z-
dc.date.available2022-10-19T02:24:38Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1781-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบภาวะแทรกซ้อน จำนวนวันนอนโรงพยาบาล และค่าใช้จ่าย ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยผ่าตัด เปลี่ยนข้อตะโพกเทียม กับผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามกิจวัตร และ (2) ศึกษาความพึงพอใจของ ผู้รับบริการที่ได้รับโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยผ่าดัดเปลี่ยนข้อตะโพกเทียม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่ากระดูกคอของกระดูก ต้นขาหักและได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อตะโพกเทียม ณ หอผู้ป่วยศัลยกรรมกระดูก โรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราช จำนวน 28 ราย แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม จำนวนเท่ากัน ได้แก่ กลุ่มควบคุมที่ได้รับการดูแล ตามกิจวัตรและกลุ่มทดลองที่ได้รับการดูแลตามโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อตะโพกเทียม เครื่องมือในการวิจัยได้แก่ โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยผ่าดัดเปลี่ยนข้อตะโพกเทียม ประกอบด้วย แผนการ ดูแลผู้ป่วยล่วงหน้า และ พยาบาลผู้จัดการผู้ป่วยรายกรณี แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลสุขภาพ แบบบันทึกค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยผ่าดัดเปลี่ยนข้อกระโพกเทียม และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการ รักษาพยาบาล ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้น ทดสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 ท่าน มีค่าความ เที่ยง 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติทีแบบอิสระ สถิติฟิชเชอร์ และสถิติแมนวิทนีย์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามโปรแกรมมีภาวะแทรกซ้อน และจำนวนวัน นอนโรงพยาบาลน้อยกว่าผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลตามกิจวัตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) (2) ค่าใช้จ่ายของผู้ป่วยทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P>0.05) และ (3) ผู้ป่วยกลุ่มที่ ได้รับโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อตะโพกเทียมมีความพึงพอใจในบริการอยู่ในระดับสูงth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการดูแลหลังศัลยกรรมth_TH
dc.subjectการพยาบาลศัลยศาสตร์th_TH
dc.subjectตะโพก -- ศัลยกรรมth_TH
dc.titleผลของใช้โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนข้อตะโพกเทียมในโรงพยาบาลมหาราช นครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeThe effects of caring program for the patients with hemiarthroplasty at Maharat Nakhon Si Thammarat Hospitalth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were: (1) to evaluate the effects of caring program for patients with hemiarthroplasty on complications, length of hospital stay, and the cost of health care between patients in the experimental group and the control group; and (2) to explore the level of satisfaction of the clients. The sample consisted of the twenty-eight patients who were diagnosed as having the neck of their femurs fractured and they were admitted to undergo hemiarthroplast at the Orthopedic Surgical Department of Maharat Nakhon Si Thammarat Hospital. The sample was divided equally into the experimental group and the control group. Routine care was provided for the control group; while the caring program for the patients with hemiarthroplasty was arranged for the experimental group. Research instruments were used to collect data as follows: (1) the caring program for the patients who underwent hemiarthroplasty including (a) clinical pathway and (b) nurse case managers, (2) two data record forms: personal data and health status, (3) the cost of health care form, and (4) customers’ satisfaction questionnaires. Content validity was verified by four experts. The reliability of the customers’ satisfaction questionnaires was 0.90. Data were analyzed by descriptive statistics, Independent t-test, Fisher’s exact test, and Man Whitney บ test. The results of the study were as follows. (1) the complications and length of hospital stay of the patients in the experimental group were significantly less than those in the control group (p < 0.05); (2) there was no significant difference in the cost of health care between the patients in the experimental group and the control group (p > 0.05). Finally, (3) the customers who were cared for in the program rated their satisfaction at a high levelen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108874.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.84 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons