Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1782
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | หทัยนุช ภู่เพ็ง, 2506- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-19T03:13:30Z | - |
dc.date.available | 2022-10-19T03:13:30Z | - |
dc.date.issued | 2551 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1782 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลและปัจจัยสนับสนุนของ การมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนภาคเหนือ ที่ ได้รับการรับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (2) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนภาคเหนือ ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (3) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับการรับรองคุฌภาพ โรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนภาคเหนือ ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลวิชาชีพที่ปฎิบัติงานโนโรงพยาบาลชุมชนภาคเหนึอ ที่ได้รับรองคุณภาพ โรงพยาบาล จำนวน 324 คน สุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามประกอบด้วยปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยสนับสนุนของการมีส่วนร่วมและการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลชุมชนภาคเหนือ ทื่ได้รับรองคุณภาพโรงพยาบาล ชึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงและความเที่ยงโดยหาค่าสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาด ได้ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามส่วนของปัจจัยสนับสนุนของการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล เท่ากับ 0.99 และ 0.98 ตามลำดับ สถิติที่ใชัในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยส่วนบุคคลของพยาบาลวิชาชีพพบว่าพยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่ มีอายุอยู่ ระหว่าง 41 - 50 ปีมากที่สุดอายุเฉลี่ย 39.52 ปีสถานภาพสมรสคู่ วุฒิการศึกษาปริญญตรีหรือเทียบเท่า ระยะเวลาในการปฏิบัติงานเฉลี่ย 13.79 ปี ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานอยู่ในช่วง 11 – 15 ปี มีตำแหน่งที่ได้รับการมอบหมายในการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาท รัอยละ 75.9 และได้รับการอบรมเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ร้อยละ 94.4 ปัจจัยสนับสนุนในการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ ว่าไโดยรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระดับการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ใน ระดับมาก (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาทชุมชนภาคเหนือ ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 คือ (ก) ปัจจัยสนับสนุนด้านลักษณะงาน ปัจจัยสนับสนุนด้านผู้นำ การได้รับการอบรมและวุฒิการศึกษา (ข) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านตำแหน่งที่ได้รับในงานพัฒนาคุณภาพ ระยะเวลาในการปฎิบัติงานโดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การมีส่วนร่วม ในการพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชนภาคเหนือ ที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล รัอยละ 63.8 | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและรับรองคุณภาพ โรงพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชนภาคเหนือที่ได้รับการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing participation of professional nurses for hospital accreditation at accredited community hospitals in the northern region | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive research were: (1) to study personal characteristics and supporting factors of professional nurses which were related to their participation in hospital accreditation, (2) to investigate the level of participation for hospital development and accreditation, and (3) to find the factors influencing participation of professional nurses in hospitals development and accreditation at accredited community hospitals in a northern region. The sample comprised 324 professional nurses who worked in these hospitals. They were selected by stratified random sampling. Three sets of questionnaires (covering personal characteristics, supporting factors in participation for hospital accreditation, and participation of profession nurses for hospital accreditation) were used as research tools. They were tested for reliability and validity. The Cronbach’s alpha reliability coefficients of the second and the third sets were 0.99 and 0.98 respectively. The statistical devices used for data analysis were descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation), Pearson product moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression. The findings were as follows. (I) Most professional nurses were aged 41- 45 years , were married (75.6%), had earned a bachelor degree in nursing (84.3%), and had between 11-15 years experience, were assigned to work for hospital accreditation (75.9%), and were trained on a hospital accreditation program (94.4%). They rated supporting factors on their participation for hospital accreditation activities at the high level (2) They also rated their participation for hospital accreditation activities at the high level. Finally, (3) Co-factors which were: (a) supporting factors (job characteristics, leadership, being trained on a hospital accreditation program, and the level of education) and (b) personal factors (being assigned to work for hospital accreditation and working experience) could predict their participation in hospital accreditation activities at accredited community hospitals in the northern region. These predictors accounted for 63.8 % participation of professional Nurses for Hospital Accreditation at Accredited Community Hospitals in a Northern Region (p < .01) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib108875.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 7.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License