Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1791
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนุชรีย์ ฤกษดี, 2511--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-19T07:17:49Z-
dc.date.available2022-10-19T07:17:49Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1791-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการตัดสินใจทางการบริหารงานของหัวหน้าหอ ผู้ป่วยตามการรับรู้ของตนเอง (2) ศึกษาคุณภาพการบริการพยาบาลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของหัวหน้า หอผู้ป่วย (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจทางการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับคุณภาพ การบริการพยาบาลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป เขต 4 และเขต 5 กระทรวงสาธารณสุข ประชากรที่ศึกษา คือพยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 4 และ เขต 5 กระทรวงสาธารณสุข รวม 10 แห่ง จำนวนทั้งสิ้น 178 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามการ ตัดสินใจทางการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยและแบบสอบถามคุณภาพการบริการพยาบาลของ หอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.98 และ 0.97 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) การตัดสินใจทางการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาล ทั่วไป เขต 4 และเขต 5 กระทรวงสาธารณสุข มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาราย ด้าน พบว่าการตัดสินใจทางการบริหารงานด้านการวางแผน ด้านการจัดองค์การ ด้านการอำนวยการและ ด้านการควบคุมมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน (2) คุณภาพการบริการพยาบาลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป เขด 4 และเขต 5 กระทรวงสาธารณสุข มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง เมื่อ พิจารณารายด้านพบว่าคะแนนเฉลี่ยด้านความเป็นรูปธรรมของการบริการที่ปรากฏ ด้านการเอาใจใส่และ เห็นอกเห็นใจ ด้านการใหัความมั่นใจแก่ผู้รับบริการ ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการตอบสนองต่อ ผู้รับบริการ มีคะแนนเฉลี่ยอยู่ในระดับสูงทุกด้าน (3) การตัดสินใจทางการบริหารงานของหัวหน้าหอ ผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับคุณภาพการบริการพยาบาลของหอผู้ป่วยโรงพยาบาล ทั่วไปเขต 4 และเขต 5 กระทรวงสาธารณสุข โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.62 มีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริการการพยาบาลของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectโรงพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจทางการบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับคุณภาพการบริการพยาบาล โรงพยาบาลทั่วไปเขต 4 และเขต 5 กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeThe relationship between decision-making in administration of head nurses and quality of nursing services at general hospitals in region 4 and 5 under the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were ะ (1) to study decision- making in administration of head nurses (2) to investigate quality of nursing services at general hospitals in Regions 4 and 5 under the Ministry of Public Health, and (3) to examine the relationship between decision-making in administration of head nurses and quality of nursing services at general hospitals in Regions 4 and 5 under the Ministry of Public Health. The population conprised 178 head nurses who worked at ten general hospitals in Region 4 and 5 the Ministry of Public Health. Two sets of questionnaires, covering decision- making in administration and quality of nursing services, were used as research tools. They were tests for reliability and validity. The Cronbach Alpha reliability coefficients of first and the second sets were 0.98 and 0.97 respectively. The statistical devices used for data analysis were both descriptive statistics (frequency, percentage, mean, and standard deviation) and Pearson’s Correlation Coefficient. The finding were as follows. (1) Head nurses rated their decision-making in administration at high level in terms of planning, organizing, directing, and controlling. (2) Head nurses rated quality of nursing services at general hospitals in Regions 4 and 5 under the Ministry of Public Health at the high level in terms of tangible services, sympathy, assurance, reliability, and response. Finally, (3) there was a statistically significant positive correlation between decision-making in administration of head nurses and quality of nursing services at general hospitals in Regions 4 and 5 under the Ministry of Public Health.(p < .01 , r = .62).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108880.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.98 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons