Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1798
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorละเอียด ปั้นสุข, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-20T01:53:55Z-
dc.date.available2022-10-20T01:53:55Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1798-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของเกษตรกรผู้ปลูกส้มโอ ขาวแตงกวา 2) การจัดการสวนส้มโอขาวแตงกวาหลังประสบอุทกภัย 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรเกี่ยวกับการจัดการสวนส้มโอขาวแตงกวาหลังประสบอุทกภัย ผลการวิจัยพบว่า 1) เกษตรกรที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 56.6 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพหลักทาการเกษตร ประสบการณ์ทาสวนส้มโอ 9-16 ปี แรงงานเฉลี่ย 1.9 คนเป็นแรงงานนอกครัวเรือนเฉลี่ย 0.5 คน เกษตรกรเรียนรู้การจัดการสวนส้มโอด้วยตนเองจากวารสาร และตารา 2) พื้นที่ปลูกส้มโอส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 3-6 ไร่ มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบลุ่ม ดินเป็นดินร่วน มีการวิเคราะห์ดิน ส่วนน้อยที่วิเคราะห์น้าโดยน้าที่ใช้เป็นน้าบาดาล พื้นที่ข้างเคียงเป็นสวนส้มโอและแปลงปลูกพืชไร่ ต้นพันธุ์ปลูกจะขยายพันธุ์เอง การปลูกไถเตรียมดิน 2 ครั้งใส่ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีผสมดินปลูก ปลูกตามแนวขวางตะวันแบบแถวเดี่ยว ก่อนการเกิดอุทกภัย ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ชนิดเม็ดหรือปุ๋ยคอกร่วมกับปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-16 หรือ 15-15-15 ร่วมกับสูตร 25-7-7 หลังการตัดแต่งกิ่งโดยใส่ปุ๋ยเฉลี่ย 2 เดือน/ครั้ง และใส่สูตร 8-24-24 และ 13-13-21 ในช่วงบารุงผล โรคที่พบได้แก่ แคงเกอร์ ยางไหล ใบแก้วและรากเน่า แมลงศัตรูที่พบ เพลี้ยไฟส้ม ป้องกันกาจัดโดยใช้สารเคมี การไว้ผลเฉลี่ย 44.7 ผล/ต้น ผลผลิตเฉลี่ย 1,623.7 กิโลกรัม/ไร่ ต้นทุนเฉลี่ย 6,632.1 บาท/ไร่ การเกิดอุทกภัยมีระดับน้าที่ท่วมระหว่าง 151-200 เซนติเมตร ระยะเวลา 30-60 วัน ต้นส้มโอตาย เฉลี่ย 56 ต้น/ราย หลังการเกิดอุทกภัย พอดินแห้งเกษตรกรเข้าสารวจต้นส้มโอที่รอดตาย และดึงรากฝอยขึ้นมาดมกลิ่น หากรากส้มโอไม่เน่า จะใส่ปุ๋ยสูตร 25-7-7 อัตรา 200-300 กรัม/ต้น ร่วมกับการให้ปุ๋ยทางใบเสริม หลังจากต้นส้มโอสมบูรณ์แล้วปฏิบัติดูแลรักษาเหมือนกับก่อนเกิดอุทกภัย การไว้ผลเฉลี่ย 18.6 ผล/ต้น ผลผลิตเฉลี่ย 640.6 กิโลกรัม/ไร่ ต้นทุนเฉลี่ย 4,196.3 บาท/ไร่ 3) ปัญหาที่พบคือขาดข้อมูลข่าวสารการเกิดอุทกภัย เงินทุนสนับสนุน และข้อมูลวิชาการในการพื้นฟูสวนส้มโอ ข้อเสนอแนะให้หน่วยงานภาครัฐชดเชยและสนับสนุนงบประมาณในการพื้นฟูสวนส้มโอและเข้าช่วยเหลือให้ทันต่อเหตุการณ์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.143-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectส้มโอth_TH
dc.subjectส้มโอขาวแตงกวาth_TH
dc.titleการจัดการสวนส้มโอขาวแตงกวาหลังประสบอุทกภัยในจังหวัดชัยนาทth_TH
dc.title.alternativeKhao Taengkwa pomelo farm management after flooding in Chai Nat Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.143-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140990.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons