Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1799
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อัจฉรา จิตตลดากร, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | อัจฉรา โพธิ์ดี, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | เอมอร เพชรทอง, 2520- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-20T02:02:36Z | - |
dc.date.available | 2022-10-20T02:02:36Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1799 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556. | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของมันขี้หนูพันธุ์ควนเนียง 1 และ 2) ต้นทุนและผลตอบแทนของมันขี้หนูเมื่อใช้ปุ๋ยต่างๆ กัน ผลการทดลอง พบว่า 1) ทรีตเมนต์ที่ไม่ใส่ปุ๋ย (ทรีตเมนต์ที่ 1) มีการเจริญเติบโตของมันขี้หนูต่ากว่า ทรีตเมนต์ที่มีการใส่ปุ๋ยเคมี และปุ๋ยอินทรีย์ (ทรีตเมนต์ที่ 2 – 6) โดยทรีตเมนต์ที่มีการเจริญเติบโตสูงสุดคือ ทรีตเมนต์ที่ 6 เมื่อใส่ปุ๋ยสูตร 13-13-21 อัตรา 50 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ที่ผ่านมาตรฐานกรมวิชาการเกษตร อัตรา 400 กิโลกรัมต่อไร่ ผลผลิตมันขี้หนูเฉลี่ยของทรีตเมนต์ที่ไม่ใส่ปุ๋ย คือ 780 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนการผลิต 12,818 บาท/ไร่ และมีกาไร 10,582 6,682 และ 2,782 บาทต่อไร่ ที่ราคาขาย 30 25 และ 20 บาทตามลาดับ และผลผลิตมันขี้หนูของทรีตเมนต์ที่มีการใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 13-13-21 อัตรา 25 กิโลกรัมต่อไร่ ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ ที่ผ่านมาตรฐานกรมวิชาการเกษตร อัตรา 400 กิโลกรัมต่อไร่ ให้ผลผลิตสูงที่สุด โดยมีผลผลิตเฉลี่ย 1,365 กิโลกรัมต่อไร่ 2) เมื่อคานวณต้นทุน พบว่า ทรีตเมนต์ที่ 5 มีต้นทุนสูงที่สุด คือ 20,773 บาท/ไร่ และมีกาไร 20,177 13,352 และ 6,527 บาทต่อไร่ ที่ราคาขาย 30 25 และ 20 ตามลาดับ ทรีตเมนต์ที่ 6 มีต้นทุนสูงรองลงมา ซึ่ง มีต้นทุนการผลิต 18,804 บาท/ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 843 กิโลกรัมต่อไร่ และมีกาไร 6,486 2,271 และ -1,944 บาทต่อไร่ ที่ราคาขาย 30 25 และ 20 ตามลาดับ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.321 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มันขี้หนู | th_TH |
dc.subject | ต้นทุนการผลิต | th_TH |
dc.subject | ปุ๋ยอินทรีย์ | th_TH |
dc.title | ผลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเจริญเติบโตผลผลิต ต้นทุนและผลตอบแทนของมันขี้หนูพันธุ์ควนเนียง 1 | th_TH |
dc.title.alternative | Effects of chemical and organic fertlilizers on grownth, yied, cost and return of Hausa potato Clone Khuan Niang 1 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.321 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
140995.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 11.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License