Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1806
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ธัญลักษณ์ ตาสุข, 2530- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-20T06:52:05Z | - |
dc.date.available | 2022-10-20T06:52:05Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1806 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร ผู้ปลูกมะม่วงน้ำดอกไม้ 2) การจัดการการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ของเกษตรกร 3) ปัญหาและข้อเสนอแนะของเกษตรกรในการจัดการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ ผลการศึกษา พบว่า 1) เกษตรกรผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 47.97 ปี ส่วนใหญ่ จบชั้นประถมศึกษา สมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.99 คน แรงงานภาคการเกษตรในครัวเรือนเฉลี่ย 2.33 คน ประสบการณ์ในการปลูกมะม่วงเฉลี่ย 8.52 ปี มีแหล่งเงินทุนเป็นของตนเอง เหตุผลที่ปลูกมะม่วงน้ำดอกไม้เพราะจำหน่ายได้ราคาดี และส่วนใหญ่ไม่เคยเข้ารับการอบรมเกี่ยวกับการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน 2) เกษตรกรส่วนใหญ่ผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ตามระบบเกษตรีที่เหมาะสม มีการปลูกมะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้สีทองเฉลี่ย 8.09 ไร่ มะม่วงพันธุ์น้ำดอกไม้เบอร์ 4 เฉลี่ย 5.54 ไร่ และมะม่วงพันธุ์อื่นๆ เฉลี่ย 3.24 ไร่ มีการผลิตมะม่วงทั้งในฤดูและนอกฤดู ส่วนใหญ่ปลูกมะม่วงด้วยวิธีการทาบกิ่ง การให้น้ำอาศัยน้ำฝนเป็นหลัก ชนิดดินส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทราย มีระยะปลูก 6x6 เมตร เกษตรกรทุกคนมีการตัดแต่งกิ่งและจัดทรงพุ่ม วัตถุประสงค์เพื่อให้มะม่วงออกดอกและติดผลทุกปี มีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารสังเคราะห์เพื่อช่วยเพิ่มผลผลิต แมลงที่ทาความเสียหายมาก คือ เพลี้ยไฟ โรคที่สาคัญที่ทาลายผลผลิต คือ โรคแอนแทรคโนส มีวิธีการป้องกันกำจัดโรคและแมลงโดยการใช้สารเคมี ห่อผลมะม่วงด้วยถุงคาร์บอน ส่วนใหญ่มะม่วงมีการติดผลทุกปี มีการคัดเกรดมะม่วงก่อนการจำหน่าย โดยมีพ่อค้าคนกลางมารับซื้อ ขายมะม่วงได้ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21–40 บาท และเกษตรกรส่วนใหญ่ยังไม่สามารถผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ได้คุณภาพตามมาตรฐานเพื่อการส่งออก 3) ปัญหาของเกษตรกร ได้แก่ ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น สภาพภูมิอากาศมีความแปรปรวน ไม่สามารถกำหนดราคาและถูกกดราคาจากพ่อค้าคนกลาง ข้อเสนอแนะของเกษตรกร ได้แก่ แนะนาวิธีการลดต้นทุนการผลิต ส่งเสริมและอบรมเรื่องการผลิต มะม่วงน้ำดอกไม้ให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน และควรมีการวางแผนการผลิตให้มะม่วงเก็บเกี่ยวได้ในช่วงที่ตลาดต้องการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.144 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มะม่วงน้ำดอกไม้--การผลิต | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--พิษณุโลก | th_TH |
dc.title | การจัดการการผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้ของเกษตรกรในอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก | th_TH |
dc.title.alternative | Nam Dok Mango production management by farmaers in Wang Thong District Phitsanulok Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.144 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to study 1) basic socio-economic status of farmers who had Nam Dok Mai mango plantation; 2) Nam Dok Mai mango production management by farmers; and 3) problems and suggestions of farmers for management of Nam Dok Mai mango production. The study found that 1) most of interviewed farmers were male with the average age of 47.97 years, and finished primary education. The average family size was 3.99 persons, and the average household labor was 2.33 persons. Moreover, the average year of farming experience was 8.52 years, and they had their own investment funds. The reason for growing Nam Dok Mai mango was that the product could be sold at a high price. The majority of farmers stated that they had never participated in training of mango production quality and standard. 2) Most farmers produced Nam Dok Mai mango adhering to Good Agricultural Practice system. They had Nam Dok Mai Seethong, Nam Dok Mai No. 4, and other cultivars of mangoes on an average of 8.09, 5.54, and 3.24 Rai (1 Rai = 1,600 square meters), respectively, with both seasonal and off-seasonal production. Most of mango trees were planted by using grafting technique. The mango plantation were irrigated mainly via rainfed, grown in sandy loam soil, and 6 x 6 meters spacing. All farmers pruned mango trees for blooming and fruiting every year. Furthermore, they used chemical fertilizers and synthetics to increase the produces. The insects that mostly damaged the produces were thrips, and the important disease was anthracnose. They prevented these problems by using chemical pesticides and wrapping the mango fruits with carbon paper bags. The mango fruits were graded before being distributed by intermediaries. They could sell the products at the average price of 21 to 40 baht per kilogram and could not produce Nam Dok Mai mangoes at the standard quality for export. 3) The problems that of farmers were production cost increasing, climate instability, inability to control the mango price, and lowering of mango prices by intermediaries. The farmers also suggested that they would like to have an advice on how to reduce production costs and training on production quality and standardization, and the production should be planned in order to meet the market demands. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
141029.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 8.63 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License