Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัฐธนินท์ อัมมินทร, 2517--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-20T07:11:51Z-
dc.date.available2022-10-20T07:11:51Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1809-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพสังคมและเศรษฐกิจของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชนบ้านนาชุม 2) ความรู้พื้นฐานกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของสมาชิกศูนย์ข้าวชุมชน 3) สภาพการดาเนินงานของศูนย์ข้าวชุมชนบ้านนาชุม 4) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชนให้เข้มแข็งผลการวิจัยพบว่า 1) สมาชิกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 44-72 ปี อายุเฉลี่ย 55 ปี ส่วนใหญ่จบประถมศึกษาปีที่ 4-6 รายได้หลักมาจากการทานา รายได้เสริมมาจากการปลูกพืชอื่น เลี้ยงสัตว์และค้าขาย สมาชิกบางส่วนมีตาแหน่งในชุมชน คือ ผู้ใหญ่บ้าน และกรรมการหมู่บ้าน นอกจากเป็นสมาชิกศูนย์ฯแล้ว ยังเป็นสมาชิกกลุ่มต่างๆ พื้นที่ปลูกข้าวเฉลี่ย 26.90 ไร่ แรงงานในครัวเรือนเฉลี่ย 3 คน แรงงานจ้างเฉลี่ย 7 คน สภาพพื้นที่นาเป็นที่ราบลุ่มดินทราย รายได้รวมเฉลี่ย 246,160 บาท รายจ่ายเฉลี่ย 135,500 บาท 2) ความรู้พื้นฐานกระบวนการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของสมาชิกศูนย์ฯตั้งแต่ระยะก่อนปลูก ระยะปลูก ระยะเก็บเกี่ยว และระยะหลังเก็บเกี่ยวอยู่ในระดับดีและดีมาก 3) การดาเนินงานของศูนย์ฯเริ่มต้นจากระดมเงินทุนจากสมาชิก และเงินสมทบจากการเก็บค่าปัจจัยการผลิตที่กรมส่งเสริมการเกษตรให้การสนับสนุน มีการเลือกคณะกรรมการบริหารศูนย์ฯ 7 ฝ่าย ประกอบด้วย ฝ่ายบริหาร ฝ่ายบริหารกองทุน ฝ่ายผลิตเมล็ดพันธุ์ ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ ฝ่ายกระจายพันธุ์ ฝ่ายหาวัตถุดิบ ฝ่ายสวัสดิการ มีการกาหนดบทบาทหน้าที่ ระเบียบข้อบังคับชัดเจน มีแผนการดาเนินงาน ปฏิบัติตามแผนที่กาหนด มีการประชุมทุก 3 เดือน มีการประสานงานกับเครือข่าย มีการจัดการแปลงนาได้ดี เมล็ดพันธุ์ข้าวผ่านการรับรองมาตรฐาน มีเงินกองทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น ให้สมาชิกกู้ ดอกเบี้ยร้อยละ 5 บาทต่อปี และมีเงินปันผลเฉลี่ยคืน 4) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาศูนย์ข้าวชุมชนให้เข้มแข็ง ประกอบด้วย ปัจจัยภายใน ได้แก่ สมาชิก กรรมการของศูนย์ข้าวชุมชน ระบบการบริหารงาน การจัดการแปลงนา และการเรียนรู้ ปัจจัยภายนอก ได้แก่ ภัยธรรมชาติ ปัจจัยการผลิต/เครื่องจักร/เครื่องทุ่นแรง หน่วยงานสนับสนุน และระบบการตลาดth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.322-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์ข้าวชุมชน--ไทย--อุบลราชธานี--การบริหาร.th_TH
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อความแข้มแข็งของศูนย์ข้าวชุมชน กรณีศึกษาบ้านนาชุม ตำบลสระสมิง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting a Community Rice Center's strength: a case study of Ban Na Chum, Sra Saming Sub-District, Warin Chamrap District, Ubon Ratchathani Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.322-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study 1) economic and social conditions of members of the community rice center; 2) community rice center members’ basic knowledge of rice seed production processes; 3) the state of Ban Na Chum’s community rice center’s operations; and 4) factors supporting the strength of the community rice center. Results showed that 1) most members were female, aged 44-72, with an average age of 55. Most had finished 4th-6th grade. The main source of income for these members was growing rice, with additional income from growing other crops, raising animals and trading. Some members were appointed to community positions including village chief and committee member. Apart from joining the community rice center, members also participated in other organizations. The average area for growing rice was 26.90 rai (4.3 ha), with an average of 3 laborers from the family, and 7 hired. The rice fields were sandy soil plain. The average total income was 246,160 baht, and the average expense was 135,500 baht. 2) Basic knowledge pertaining to rice seed production processes, from before and during growing, to harvest and post harvest, of the center’s members was considered to be good to very good. 3) The center’s operation started from gathering money from members and production funds supported by the Department of Agricultural Extension. Committee members were elected for the 7 divisions: administration, finance, seed production, quality assurance, distribution, raw material acquisitions and welfare. Responsibilities were given to the committee members and codes of conduct clarified. Plans were made and carried out. There were meetings every 3 months. Networks were coordinated. There was good rice field management. Rice seeds passed standards. There was an increase in circulating funds. Members could take out loans with 5% interest per year, and there were dividends. 4) Factors affecting the strength of the community rice center were internal factors: members, committee members, administrative system, rice field management and learning, and external factors: natural disasters, production factors/machinery/labor-saving devices, supporting agencies and the market system.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
141031.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons