Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1813
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | รัชนี ศุจิจันทรรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | สุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | รมณ พงศ์ภัทรพร, 2507- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-20T07:50:31Z | - |
dc.date.available | 2022-10-20T07:50:31Z | - |
dc.date.issued | 2550 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1813 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงพรรณนานื้มีวัตถุประสงศ์เพื่อ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอัตรากำลัง ได้แก่ (1) ร้อยละของพยาบาลวิชาชีพต่อบุคลากรทางการพยาบาลทั้งหมด (2) ชั่วโมงการพยาบาลต่อผู้ป่วยต่อวัน (3) จำนวนชั่วโมงการทำงานเฉลี่ยต่อสัปดาห์ กับอัตราการเกิดแผลกดทับและความพึงพอใจในงานของ พยาบาล ของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิในเขตภาคกลาง ประชากรประกอบด้วยโรงพยาบาล ระดับตติยภูมิในภาคกลาง สุ่มเลือกได้ จำนวน 3 แห่ง จาก 6 แห่ง เก็บรวบรวมข้อมูลในหอผู้ป่วยสามัญอายุรกรรม ศัลยกรรม และศัลยกรรมกระดูกของ โรงพยาบาลที่ศึกษา จำนวน 20 แห่ง เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย แบบบันทึกภาระงานของพยาบาล แบบรวบรวมข้อมูลการเกิดแผลกดทับของผู้ป่วย และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลซึ่ง ผู้วิจัยสร้างขึ้น ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน คำนวณดัชนีความตรงตาม เนื้อหารายข้อและทดสอบความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจพบว่ามีคำดัชนีความตรงตาม เนื้อหารายข้อระหว่าง 0.80-1.00 และค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ จำนวน ร้อยละ และสัมประสทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์,สัน ผลการวิจัยพบว่า (1) ร้อยละของพยาบาลวิชาชีพกับอัตราการเกิดแผลกดทับ และ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (2) ชั่วโมงการพยาบาล ต่อผู้ป่วยต่อวันกับอัตราการเกิดแผลกดทับมีดวามสัมพันธ์ทางลบระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r =- 0.55, p<0.05) (3) ชั่วโมงการพยาบาลต่อผู้ป่วยต่อวันกับความพึงพอใจในงานของพยาบาลไม่มี ความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (3) ชั่วโมงการทำงานเฉลี่ยต่อสัปดาห์กับอัตราการเกิดแผล กดทับมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.64, p<0.01) (4) ชั่วโมง การทำงานเฉลี่ยต่อสัปดาห์กับความพึงพอใจในงานของพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางลบระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=- 0.48, p<0.05) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.290 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน | th_TH |
dc.subject | พยาบาล -- อัตรากำลัง | th_TH |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างอัตรากำลังกับอัตราการเกิดแผลกดทับ และความพึงพอใจในงานของพยาบาล | th_TH |
dc.title.alternative | The relationship between nurses staffing, incident rate of decubitus ulcer and nurses' job satisfaction | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2007.290 | en_US |
dc.degree.name | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this descriptive study were to explore the relationship among nurse staffing including 1) percentage of registered nurses, 2) nursing hour per patient day, 3) work hour per week and incident rate of decubitus ulcer and job satisfaction of nurses who inchargcd in tertiary public hospital in middle part of Thailand. The population was six tertiary public hospitals in middle part of Thailand. Three hospitals were randomly selected. The study conducted in twenty medical, surgical and orthopedic in-patient wards from studied hospitals. The instruments consisted of the form to report the work load of professional nurses, decubitus ulcer incident of the patients and nurses’ job satisfaction questionnaire. Content validity of each instrument was evaluated by five experts. In addition, content validity index and reliability were calculated for nurses’s job satisfaction questionnaire. Content validity index of each item ranged from 0.80-1.00. The conbrach’s alpha reliability was 0.94. Data were analyzed using descriptive statistics including frequency, percentage and Pearson’s product moment correlation. The findings were as follow. (1) There was no significantly different among the percentage of register nurses, the incident rate of decubitus ulcer of the patients and nurses’ job satisfaction. (2) There was moderate negative significant correlation between nursing hour per patient day and incident rate of decubitus ulcer (r=-0.55, p<0.05); In addition, the nursing hour per patient day did not have significant correlated with nurse’s job satisfaction. (3) There was moderate positive significant correlation between the work hour per week and incident rate of decubitus ulcer (r = 0.64, p < 0.01) and moderate negative significant correlation with nurse’s job satisfaction(r=- 0.48, p<0.05) | en_US |
Appears in Collections: | Nurse-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thesbib108908.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 9.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License