Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1814
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุพิมพ์ ศรีพันธ์วรสกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorพิเชฐ บัญญัติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorลักขณา ผ่องพุทธ, 2508--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-20T08:41:00Z-
dc.date.available2022-10-20T08:41:00Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1814-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนารูปแบบการจัดการ ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และ (2) ประเมินความเหมาะสมในการนำรูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรค หลอดเลือดสมองที่สร้างขึ้นไปใชั กลุ่มตัวอย่าง มี 2 กลุ่ม คือ กลุ่ม 1 กลุ่มพัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ประกอบด้วยบุคลากรสาธารณสุข ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่ปฏิบัติงานใน โรงพยาบาลนภาลัย จำนวน 12 คน และกลุ่มผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทางสมอง จำนวน 6 คน กลุ่ม 2 กลุ่ม ประเมินความเหมาะสมในการนำรูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่สรัางขึ้นไปใชั ประกอบด้วย ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใชัในการวิจัยมี 2 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 เครื่องมือที่ใชัในการ พัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยการใชักระบวนการการจัดการความรู้ตามแนวคิด โนนากะและทาคิวชิ ได้แก่ ประเด็นการสนทนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อการพัฒนารูปแบบ แบบนันทนาการสนทนา ส่วนที่ 2 แบบประเมินความเหมาะสมในการนำรูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ที่สร้างขึ้น เครื่องมือทั้ง 2 ส่วนผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน มีค่า CVI อยู่ช่วง ระหว่าง 0.75-1.00 การเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการใช้กระบวนการจัดการความรู้ โดยการสนทนา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนี้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ มีการปฏิบัติ 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การรู้ถึงปัญหา (องค์ประกอบที่ 1) ขั้นตอนที่ 2 กระบวนการให้ดูแล ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบได้แก่ 1) การดูแลรักษาด้วยทีมสหวิชาชีพ 2) การป้องกัน ภาวะแทรกซ้อน 3) การสร้างคุณค่าให้ผู้ป่วย 4) การเสริมสรัางความรู้ ทั้งผู้ดูแลและผู้ให้บริการ 5) การมีผู้ช่วย เหลือและที่ปรึกษา 6) การติดตามดูแลต่อเนื่อง และผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบในการนำไปใชั กับบริบทของโรงพยาบาลนภาลัย มีค่าความเชี่อมั่นอยู่ในช่วง 0.81 -0.90 ข้อเสนอแนะ การนำรูปแบบการ จัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลนภาลัย ที่พัฒนาขึ้นไปสู่การทดลองปฏิบัติ ควรมีการสื่อสาร ให้ผู้ปฏิบัติรับทราบก่อน และหากโรงพยาบาลอื่นนำไปใชัต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมกับบริบทของแต่ละ โรงพยาบาลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.201en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectหลอดเลือดสมอง -- โรค -- การพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการจัดการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลนภาลัย โดยการใช้แนวคิดของการจัดการความรู้th_TH
dc.title.alternativeThe development of a care management model for stoke patients at Napalai Hospital based on knowledge managementth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.201en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to develop a care management model for stroke patients, and (2) to evaluate the appropriation of this model in the context of Napalai Hospital. Subjects comprised two groups. The first group consisted of (1) twelve health care providers who provided health and nursing care services. This group developed the management model for stroke patients and (2) six care givers who took care of stroke patients. The second group consisted of fifteen professional experts. This group played an evaluation role. Two research instruments were used. The first tool was used to develop the management model for stroke patients based on Nonaka and Takeuchi's knowledge management model. Conversation topics for development of a new model and record form were examples. The second tool was an evaluation form for the appropriation of the new management model. Both tools were verified by four professional experts, and CVIs ranged from 0.75 to 0.01. Qualitative data was collected by knowledge management process such as conversation for exchanged knowledge. Content analysis was used to analyze data. The result of this research showed that (1) the new management model consisted of seven components, and the model was divided into two steps: Step 1 ะ knowing problems (the first component) and Step 2: care process. The latter consisted of six components:!) providing treatment and care by a multidisciplinary care team, 2) prevention of disease complications, 3) building the value of patients, 4) increasing knowledge of both health care providers and care givers, 5) offering care givers and consultants, and 6) organizing and monitoring care and treatment continuously. (2) The new model was appropriated for the Napalai hospital context, and the reliability ranged from 0.81 to 0.90. Before applying this new management model for stroke patients, two suggestions were provided: 1) all concerned care givers should be informed, and 2) the context of each hospital should be considereden_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108910.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.48 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons