Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1815
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรีth_TH
dc.contributor.authorเพียงตา อิงคุทานนท์, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-21T02:10:04Z-
dc.date.available2022-10-21T02:10:04Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1815en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาต้นทุนการให้บริการรักษาพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดทางช่องคลอดตั้งแต่แรกรับจนกระทั่งจำหน่ายโดยใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม (2) ศึกษาต้นทุนการให้บริการรักษาพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ ที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องตั้งแต่แรกรับจนกระทั่งจำหน่ายโดยใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม และ (3) ศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนการให้บริการรักษาทยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดทางช่อง คลอดกับผ่าตัดคลอดทางหน้าห้องตั้งแต่แรกรับจนกระทั่งจำหน่าย โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งใน กรุงเทพมหานคร ประชากรคือกิจกรรมการให้บริการรักษาพยาบาลแก่หญิงตั้งครรภ์ที่คลอดทางช่องคลอดและผ่าตัดคลอดทางหน้าห้อง ผู้ให้ข้อมูลคือ พยาบาลวิชาชีพ ผู้ช่วยพยาบาลและพนักงานผู้ช่วยพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบบนทึกข้อมูล จำนวน 7 ชุด และพจนามุกรมกิจกรรมการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดทางช่องคลอดและผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และนาฬิกาจับเวลา เครื่องมือที่สร้างขึ้นผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ มีค่าความเที่ยงของการสังเกตตามแบบบันทึกกิจกรรมพยาบาล 0.87 วิเคราะห์ช้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า (1) ต้นทุนการให้บริการรักษาพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดทางช่องคลอด 27,912.88 บาท มีต้นทุนทางตรง 26,545.02 บาท และต้นทุนทางอ้อม 1,367.86 บาท ต้นทุนทางตรงมีอัตราส่วนต้นทุนค่าแรง: ต้นทุนค่าวัสดุ: ต้นทุนค่าลงทุน 28.73 ะ 1.99 : 1 (2) ต้นทุนการให้บริการรักษาพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าห้อง 34,876.22 บาท มีต้นทุนทางตรง 30,873.85 บาท และต้นทุนทางอ้อม 3,993.37 บาท ต้นทุนทางตรงมีอัตราส่วนต้นทุนค่าแรง: ต้นทุนค่าวัสดุ: ต้นทุนค่าลงทุน เท่ากับ 22.73 : 1.82 : 1 และ (3) ต้นทุนการให้บริการรักษาพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่ผ่าตัดคลอดทางหน้าห้องสูงกว่าต้นทุนการให้บริการรักษาพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดทางช่องคลอดอยู่ 6,954.34 บาท 8 คิดเป็น 1.25 เท่าth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2007.200en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาลสูติศาสตร์--ค่าใช้จ่ายในการดำเนินการth_TH
dc.subjectการผ่าท้องทำคลอด--การพยาบาล--ค่าใช้จ่ายth_TH
dc.subjectการทำคลอด--การพยาบาล--ค่าใช้จ่ายth_TH
dc.titleเปรียบเทียบต้นทุนการให้บริการรักษาพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดทางช่องคลอดกับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง โดยใช้ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม : โรงพยาบาลเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeComparison of service cost between vaginal delivery and caesarean section in pregnant women using activity-based cosing system at a private hospital in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2007.200en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (I) to investigate a service cost of vaginal delivery in pregnant women using activity-based costing system (ABCS), (2) to examine a service cost of caesarean section in pregnant woman using ABCS, and (3) to compare a service cost between vaginal delivery pregnant women and caesarean section ones using ABCS at a private hospital in Bangkok Metropolis. The research population comprised all nursing activities undertaken for both vaginal delivery and caesarean section of pregnant woman services. Informants were registered nurses and enrolled nurses. Research instruments were seven data recording forms, a list of nursing activities, and calibrated clocks. All instruments were tested for their content validity and reliability. The reliability coefficient of the instrument was 0.87. Dau were analyzed by descriptive statistics. The major results of this study were as follows: (1) The service cost of vaginal delivery in pregnant women was 27,912.88 baht. The direct cost was 26,545.02 baht, and the indirect cost was 1,367.86 baht. The ratio of the direct cost (labor cost: material cost: capital cost) was 28.73 : 1.99 : 1 respectively. (2)The service cost of caesarean section in pregnant woman was 34,867.22 baht. The direct cost was 30,873.85 baht, and the indirect cost was 3,993.37 baht. The ratio of the direct cost (labor cost: material cost: capital cost) was 22.73 : 1.82 : I respectively. Finally, (3) the service cost of caesarean section in pregnant women was higher than the service cost of vaginal delivery' pregnant women about 6,954.34 baht or 1.25 times.en_US
dc.contributor.coadvisorวรางคณา ผลประเสริฐth_TH
dc.contributor.coadvisorส่งศรี กิตติรักษ์ตระกูลth_TH
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib108911.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons