Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1817
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.advisor | พงศ์พันธุ์ เธียรหิรัญ, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | ปฏิมา ทองสิงหา, 2524- | - |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา. | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-10-21T02:29:34Z | - |
dc.date.available | 2022-10-21T02:29:34Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1817 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกรผู้ปลูกมันสาปะหลังในตาบลแก้งกอก อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี 2) ผลของโครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังที่มีต่อประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกร 3) แนวทางในการพัฒนาโครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังเพื่อตอบสนองความต้องการของเกษตรกร ผลการวิจัย พบว่า 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 54.65 ปี สมรสทั้งหมด ส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 3.5 คน เป็นสมาชิกกลุ่มเกษตรกร มีอาชีพหลักด้านการเกษตร อาชีพรองรับจ้างทั่วไป พื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ย 20.35 ไร่ เกือบทั้งหมดเป็นที่ดินของตนเอง รายได้จากภาคการเกษตรเฉลี่ย 70,625 บาทต่อปี รายได้จากนอกภาคการเกษตรเฉลี่ย 89,000 บาทต่อปี ส่วนใหญ่ใช้พันธุ์ระยอง เครื่องจักรกลส่วนใหญ่มีรถไถเดินตามและเครื่องสับ 2) หลังเข้าร่วมโครงการฯ ส่วนใหญ่สามารถเพิ่มผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ ลดต้นทุนการผลิตได้ทุกราย และได้รับกาไรจากการปลูกมันสาปะหลังเพิ่มขึ้น ความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการฯโดยภาพรวมเกษตรกรมีความรู้ที่ได้จากการฝึกอบรมในระดับมาก ประโยชน์จากการเข้าร่วมโครงการฯ มีอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความพึงพอใจหลังเข้าร่วมโครงการฯ โดยภาพรวมมีความพึงพอใจระดับมาก 3) แนวทางในการพัฒนาโครงการฯ มี 3 แนวทางคือ (1) แนวทางการพัฒนาด้านผู้เข้าอบรมได้แก่ การคัดเลือกเกษตรกรผู้เข้าอบรม และการประชาสัมพันธ์ (2) แนวทางพัฒนาด้านวิทยากร ได้แก่ ด้านความรู้ ด้านการถ่ายทอดและสื่อ (3) แนวทาง การพัฒนาด้านการดำเนินงานตามโครงการ ได้แก่ ด้านการสนับสนุนทรัพยากร ด้านการบริหารโครงการ และด้านสถานที่ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.323 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | เกษตรกร--ไทย--อุบลราชธานี | th_TH |
dc.subject | มันสำปะหลัง--ไทย--การผลิต. | th_TH |
dc.title | แนวทางการพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมันสำปะหลังของเกษตรกร ในตำบลแก้งกอก อำเภอศรีเมืองใหม่ จังหวัดอุบลราชธานี | th_TH |
dc.title.alternative | Guidelines for Improving Increasing Cassava Production of Farmers in Ganggok Sub-District, Si Mueang Mai District, Ubon Ratchathani Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2013.323 | - |
dc.degree.name | เกษตรศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to study 1) the economic and social conditions of cassava farmers in Ganggok Sub-district, Si Mueang Mai District, Ubon Ratchathani Province; 2) results of implementing the project to support increasing cassava production; and 3) guidelines for improving the project to support increasing cassava production to satisfy farmers. This research project considered both quantitative and qualitative measures. The population studied was 20 farmers who participated in the project. Information was collected through individual and group interviews. Frequencies, percentages, averages, maximum, minimum and standard deviations were found for quantitative observations, while qualitative data were sorted and grouped. Results showed that 1) most farmers were male, with an average age of 54.65. All farmers were married, and most of them graduated from elementary school. The average number of family members was 3.5 and most samples were members of a farmer’s group. Agriculture was their main occupation, with other employments were secondary. Each farm was an average of 20.35 rai (3.26 ha). Most land was owned by the farmers. The average income from farming was 70,624 baht per annum. The average income from other sources was 89,000 baht per annum. Most cassava grown was Rayong variety. Most machinery was tillers and milling machines. 2) After joining the program, most farmers were able to increase production per unit land area. All participants were able to decrease the capital cost and received more profit from growing cassava. Overall, the level of knowledge attained from engaging in the project was good. The level of benefit from participating was considered excellent, and the level of satisfaction was good. There were three ideas to improve the project: a) improve the participants by selecting attendees, and have better publicity; b) improve the facilitators with better knowledge, presentation skills and media; and c) improve project administration by including resources support, improving project management and having a better location. | en_US |
Appears in Collections: | Agri-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
141037.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.7 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License