Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1826
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญทิพย์ สิริธรังศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorนันทวัน สุวรรณรูป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorมะลิ วิมาโน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorดาวรุ่ง ศิริพันธ์, 2512--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-21T04:21:34Z-
dc.date.available2022-10-21T04:21:34Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1826-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์สภาพการณ์และความต้องการรูปแบบการ เสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานของพยาบาลประจำการหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลตราด (2) สร้างรูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานของพยาบาลประจำการ และ (3) ประเมิน ความเหมาะสมในการนำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปได้ กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 3 กลุ่ม (1) กลุ่มตัวอย่างในการวิเคราะห์สภาพการณ์และความต้องการ รูปแบบ ได้แก่ หัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการหอผู้ป่วยอายุรกรรม 14 คน คัดเลือกแบบเจาะจง (2) กลุ่มตัวอย่างในการสร้างรูปแบบได้แก่ หัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการหอผู้ป่วยอายุรกรรม 6 คน ลัดเลือกจากอาสาสมัคร และ (3) กลุ่มตัวอย่างในการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ ได้แก่ หัวหน้าหอผู้ป่วยและพยาบาลประจำการหอผู้ป่วยอายุรกรรม 14 คน คัดเลือกแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ ในการเก็บข้อมูล เป็นแบบสอบถามแบบกึ่งโครงสร้างสำหรับการสนทนา และแบบประเมินความเหมาะสม ในการนำรูปแบบไปใช้ เครื่องมือทั้งสองชุดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน ค่าความตรงตามเนื้อหา มีค่า 0.80 และ 0.90 ตามลำดับ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยผู้วิจัย และใช้เทปในการ บันทึก วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติพรรณนา วิเคราะห์เนึ้อหาของข้อมูลโดยวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานของพยาบาล ประจำการหอผู้ป่วยอายุรกรรมโรงพยาบาลตราด ในปัจจุบัน ยังไม่มีความชัดเจน (2) รูปแบบการ เสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานของพยาบาลประจำการหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลตราด ประกอบด้วย การจัดการองค์ประกอบที่มีผลต่อการเสริมสร้างพลังอำนาจ 6 ด้าน ได้แก่ (ก) อาคารสถานที่ สภาพแวดลัอม (ข) วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ (ค) ข้อมูลข่าวสารสารสนเทศ (ง) ผู้ร่วมงานและ ทีมงาน (ฉ) หัวหน้างาน (ช) นโยบายการบริหารและการบริหารจัดการ (3) ผู้ประเมินมีความเห็นว่า รูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจที่พัฒนาขึ้น มีความเหมาะสมและสามารถนำไปใช้ได้ ข้อเสนอแนะ ในการนำรูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจที่พัฒนาขึ้นไปใช้ในหอผู้ป่วยของหน่วยงานอื่น ควรคำนึงถึง บริบทและความเหมาะสมของหอผู้ป่วยและหน่วยงานนั้นเป็นสำคัญth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.subjectพยาบาล -- ไทย -- ตราดth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.titleการพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างพลังอำนาจในการปฏิบัติงานของพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลตราดth_TH
dc.title.alternativeThe development of a job empowerment model for staff nurses in Medical Words at Trad Hospital, Thailandth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: (1) to analyze the situations and requirements of a new job empowerment model for staff nurses in Medical wards at Trad Hospital, (2) to build a job empowerment model, and (3) to evaluate the new model. The sample consisted of 3 groups. (I) The first group was used for analysing the situations and requirements of the job empowerment model. They were head nurses and staff nurses of Medical wards, included 14 persons, selected by purposive sampling. (2) The second group was used for building the model. They were head nurses and staff nurses of Medical wards, included 6 persons, selected by volunteer sampling. (3) The last group was used for evaluating the new model. They were head nurses and staff nurses of Medical wards, included 14 persons, selected by purposive sampling. The research tools were scmi-stnictured interview guidelines and an evaluation form. Both were checked for content validity by five experts, and their validities ranged from 0.89 to 1.00 and 0.85 to 1.00, respectively. Data collection was done by the researcher, and the interview was taped by a radio recorder machine. The data were analyzed by descriptive statistics and content analysis. The research findings were as follows. (1) The current job empowerment model for staff nurses in Medical wards at Trad Hospital was not clear. (2) Ilie new model was composed of 6 administration elements which affected job empowerment: (a) places, buildings, and environment, (b) materials and instruments, (c) information technology, (d) staff and their team work, (e) team leader, and (f) policies of administration and management. (3) The new model was suitable for the current situation. It was recommended that the new model may be used in other wards, but it should be applied carefully by considering contexts and suitability.en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109930.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons