Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมุกดา หนุ่ยศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณี ตปนียากร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนฤมล ตั้งเจริญธรรม, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-21T08:39:38Z-
dc.date.available2022-10-21T08:39:38Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1828-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับภาวะชี้นำแบบอย่างของหัวหน้า หอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ภาวะผู้นำแบบอย่างของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย และ (3) ศึกษาตัวแปรพยากรณ์ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลรัฐ ระดับตติยภูมิ 15 และ 17 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานภายใต้การบังคับบัญชาของหัวทน้าที่ผู้ป่วยกับ ปัจจุบัน 1 ปีขึ้นไปโนโรงพยาบาลรัฐระดับตติยภูมิ เขต 15 และ 17 จำนวน 309 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบ่งเป็น 4 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ตอนที่ 2 แบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตอนที่ 3 แบบสอบถามภาวะผู้นำแบบอย่างของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ ตอนที่ 4 แบบสอบถามวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ ซึ่งผ่านการตรวจสอบ ความตรงตามเนื้อหา และ วิเคราะห์ หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยคำนวณค่าสัมประสิทธิ์เแอลฟาของครอนบาค ได้เท่ากับ0.93.0.95 และ 0.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ รัอยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ แบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า (1) ภาวะซี้นำแบบอย่างของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบ สร้างสรรค์ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยโรงพยาบาลรัฐ ระดับตติยภูมิในเขต 15 และ 17 อยู่ในระดับสูง (2) ภาวะชี้นำแบบอย่างของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ในระดับ ปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และวัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์ มีความสัมพันธ์ทางบวก กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05 และ (3) วัฒนธรรมองค์การแบบ สร้างสรรค์และภาวะชี้นำแบบอย่างของหัวหน้าหอผู้ป่วย สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของหอผู้ป่วยได้ รัอยละ 59.8th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectวัฒนธรรมองค์การth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.subjectหัวหน้าพยาบาลth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำแบบอย่างของหัวหน้าหอผู้ป่วย วัฒนธรรมองค์การแบบสร้างสรรค์กับประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ ระดับตติยภูมิ ในเขต 15 และ 17th_TH
dc.title.alternativeRelationships between exemplary leadership of head nurses, constructive organizational culture, and effectiveness of patient unit as perceived by staff nurses, at Tertiary Care Government Hospitals in Region 15 and 17th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the descriptive research were: (1) to study the exemplary leadership of head nurses, constructive organizational culture, and the effectiveness of patient units as perceived by staff nurses; (2) to investigate the relationship between exemplary leadership of head nurses, constructive organizational culture, and the effectiveness of patient units; and (3) to determine predicted variables of the effectiveness of patient units at Tertiary Care Government Hospitals in Region 15 and 17. Stratified random sampling was used for selecting 309 subjects from all staff nurses who had worked for at least 1 year under their current nursing administrator of patient wards at Tertiary Care Government Hospitals in Region 15 and 17. The research tools used for collecting the data were questionnaires comprising 4 sections: (1) personal data, (2) the effectiveness of patient units, (3) exemplary leadership of head nurses, and (4) constructive organizational culture. These questionnaires were tested for content validity and reliability. The Cronbach Alpha reliability coefficients of the second to the fourth sections were 0.93,0.95, and 0.96 respectively. Research data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson product moment correlation coefficient, and Stepwise multiple regression analysis. The results of this study illustrated as follows. (1) Nurses rated exemplary leadership of head nurses, constructive organizational culture, and the effectiveness of patient units at the high level. (2) There was a significantly positively moderate relationship between exemplary leadership of head nurses and the effectiveness of patient units (p < .05) whereas there was a significantly positively high relationship between constructive organizational culture and the effectiveness of patient units (p < .05). Finally, (3) exemplary leadership of head nurses and constructive organizational culture predicted the effectiveness of patient units. These predictors accounted for 59.8 %en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109932.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.06 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons