Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1832
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูลสุข หิงคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุภมาส อังศุโชติ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมัฏฐวรรณ ลี้ยุทธานนท์, 2510--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T02:58:40Z-
dc.date.available2022-10-25T02:58:40Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1832-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านองค์กร และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานของผู้บริหารระดับต้น สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวง สาธารณสุข (2) ศึกษาพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมของผู้บริหารระดับต้น สังกัดสถาบันพระบรม ราชชนก กระทรวงสาธารณสุข (3) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยส่วนบุคคลปัจจัยด้านองค์กร และปัจจัย ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานกับระดับพฤติกรรมกล้าแสดง ออกที่เหมาะสมของผู้บริหารระดับต้น สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยคือผู้บริหารระดับต้นของวิทยาลัยใน สังกัดสถาบันพระบรมราช ชนก จำนวน 186 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม 3 ส่วนคือ ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านองค์กร และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน พฤติกรรมกล้าแสดงออก ชึ่งมีค่าความเที่ยงของแบบสอบถามใน ส่วนที่ 2 และ ส่วนที่ 3 เท่ากับ 0.94 และ 0.92 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะหข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสัทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (I) ปัจจัยส่วนบุคคลส่วนใหญ่พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์ในการ ปฏิบัติงานด้านบริหารในช่วง 1-5 ปื และไม่เคยฝึกอบรมเกี่ยวกับพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสม ปัจจัย ด้านองค์กรและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยภาพรวมมีความเหมาะสมระดับมาก (2) พฤติกรรม กล้าแสดงออกที่เหมาะสมของผู้บริหารระดับต้นอยู่ในระดับมาก (3) ปัจจัยส่วนบุคคล ไม่มีความสัมพันธ์ กับพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมของผู้บริหาร ส่วนปัจจัยด้านองค์กรและด้านสภาพแวดล้อมใน การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมกล้าแสดงออกในระดับปานกลาง (r = .46 ) ที่ระดับ นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .0)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการพยาบาล -- การบริหารth_TH
dc.subjectผู้บริหารth_TH
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมในการทำงานth_TH
dc.subjectภาวะผู้นำทางการศึกษาth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านองค์กร และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน กับพฤติกรรมกล้าแสดงออกที่เหมาะสมของผู้บริหารระดับต้น สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุขth_TH
dc.title.alternativeThe relationships between personal factors, organizational factors, and working environment and the assertive behaviors of the first level administrators at Praboromarajchanok Institute under the jurisdiction of the Ministry of Public Healthth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were: (I) to study personal factors, organizational factors, and working environment of the first level administrators al Praboromrajchanok Institutes under the Jurisdiction of the Ministry of Public Health, (2) to investigate the assertive behaviors of the first level administrators at Praboromrajchanok Institutes under the Jurisdiction of the Ministry of Public Health, and (3) to examine the relationship between personnel factors, organizational factors, and working environment, and the assertive behaviors of the first level administrators at Praboromrajchanok Institutes under the Jurisdiction of the Ministry of Public Health. The sample comprised 186 first level administrators at Praboromrajchanok Institutes under the Jurisdiction of the Ministry of Public Health. Three sets of questionnaires covering (a) personal factors, (b) organizational factors, and working environment, and (c) the assertive behaviors of the first level administrators were used as research tools. They were tested for reliability and validity. The Cronbach Alpha reliability coefficients of part two and part three were 0.94 and 0.92 respectively. The statistical devices used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson product- moment correlation coefficient, and chi-square. The findings were as follows. (1) The subjects had I -5 years experience as first level administrators and were not trained in performing appropriate assertive behaviors .These subjects rated both organizational factors and working environment at the high level. (2) They also rated their assertive behaviors at the high level. Finally, (3) there was no statistically significant correlation between personnel factors, and the assertive behaviors of the first level administrators (p <.01) and, there was a statistical significant positive correlation at moderate level between organizational factors, and working environment and the assertive behaviors of the first level administrators (r = 0.46, p < .01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109952.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons