Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1835
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารี ชีวเกษมสุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorรัชนี นามจันทรา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวิไล กุศลวิศิษฎ์กุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพานทิพย์ ร่มโพธิ์ตาล, 2505--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T06:08:47Z-
dc.date.available2022-10-25T06:08:47Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1835-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยและพัฒนา มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาท ของผู้ป่วยโรคเรื้อน สถาบันราชประชาสมาสัย และ (2) ศึกษาผลของการใช้ระบบบันทึกทางการพยาบาลในด้าน คุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลและความพึงพอใจของพยาบาลต่อระบบบันทึกทางการพยาบาลก่อนและ หลังการพัฒนา กลุ่มตัวอย่างแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ซึ่งได้จากการสุ่มอย่างเจาะจงได้แก่ (1) พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงาน ในหอผู้ป่วยโรคเรื้อนอายุรกรรมและศัลยกรรม จำนวน 15 คน และ (2) แบบบันทึกทางการพยาบาลของผู้ป่วย จำนวน 60 แพ้ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ (1) ระบบบันทึกทางการพยาบาลที่พัฒนาขึ้น (2) โครงการอบรม พยาบาลวิชาชีพและแบบทดสอบความรู้เรื่องการบันทึกทางการพยาบาล และ (3) เครื่องมือที่ใช้เกมรวบรวม ข้อมูลมี 2 ชุด ได้แก่ แบบตรวจสอบคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาล และแบบสอบถามความพึงพอใจ ของพยาบาลต่อระบบบันทึกทางการพยาบาล เครื่องมือวิจัยได้ผ่านการหาความตรงตามเนี้อหาและความเที่ยง ค่าความเที่ยงของแบบตรวจสอบคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลแบ่งเป็น 3 ตอน ได้แก่ ความครอบคลุม ตามกระบวนการพยาบาล ความถูกต้องตามหลักการบันทึกและความต่อเนี่องของการบันทึกเท่ากับ 0.95,0.85 และ 0.94 ตามลำดับ และความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจของพยาบาลต่อระบบบันทึกทางการพยาบาล เท่ากับ 0.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Mann-Whitney ข test และ สถิติทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) ระบบบันทึกทางการพยาบาลของผู้ป่วยโรคเรื้อน สถาบันราชประชาสมาสัย ประกอบด้วย วิธีการบันทึกแบบบันทึกและคู่มือการใช้ระบบบันทึกทางการพยาบาลตามกระบวนการพยาบาล ชึ่งทำให้บันทึกได้อย่างรวดเร็ว ครอบคลุมความต้องการของผู้ป่วยแบบองค์รวมและอย่าง ต่อเนื่อง (2) ค่าเฉลี่ยของคะแนนคุณภาพของการบันทึกทางการพยาบาลและความพึงพอใจของพยาบาลต่อระบบ บันทึกทางการพยาบาลโดยรวมหลังการพัฒนาสูงกว่าก่อนการพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาลอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2008.231en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบันทึกการพยาบาลth_TH
dc.subjectการสื่อสารทางการพยาบาลth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบบันทึกทางการพยาบาลของผู้ป่วยโรคเรื้อนสถาบันราชประชาสมาสัยth_TH
dc.title.alternativeThe development of a nursing record system for leprosy patients at Raj Pracha Samasai Instituteth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2008.231en_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research and development were: (1) to develop a nursing record system for leprosy patients at Raj Pracha Samasai Institute, and (2) to study the outcomes of using the record system in terms of quality of nursing records and nurses’ satisfaction with the record system before and after the development. The samples were selected by purposive sampling including 2 groups: (1) fifteen professional nurses in medical - surgical wards, and (2) sixty nursing records for patients. Research tools consisted of (1) the developed nursing record system, (2) a training project and a knowledge test of nursing records, and (3) two types of data collection tools ะ (a) a quality of nursing records audit installment and (b) the nurses’ satisfaction with the nursing record system. All tools were tested for validity and reliability. The reliabilities of the quality of nursing records which were divided into three sections (a comprehensiveness of nursing process, an accuracy of charting, and continuity of charting) were 0.95,0.85, and 0.94 respectively. The reliability of nurses’ satisfaction with the record system was 0.92. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Mann-Whitney บ test, and t-test. The major findings were as follows. (1) The nursing record system for leprosy patients included record procedures, forms, and a manual which were constructed according to a nursing process. The system contributed to quick record, holistic approach for patients’ needs, and continuity of charting. (2) The mean scores of the quality of nursing record system and the nurses’ satisfaction with the record system after the development were significantly higher than before (p <0.01)en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib109957.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons