Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบาเพ็ญ เขียวหวาน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสินีนุช ครุฑเมือง แสนเสริม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุดใจ ดวงนามล, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T07:58:16Z-
dc.date.available2022-10-25T07:58:16Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1839-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (ส่งเสริมการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) สภาพพื้นฐานส่วนบุคคลทางเศรษฐกิจและสังคมของเกษตรกร (2) ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อความเหมาะสมในการดาเนินโครงการ (3) ความรู้ ความเข้าใจของเกษตรกรเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินและใบปาล์มน้ามัน การเก็บตัวอย่างดิน การเก็บตัวอย่างใบเพื่อส่งวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการ (4) ผลสัมฤทธิ์จากการนาผลค่าวิเคราะห์ดินและใบที่ได้ไปใช้จริงในแปลง (5) ปัญหาและข้อเสนอแนะ แนวทางการส่งเสริม การได้รับการสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่ และอื่นๆ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ (1) เกษตรกรผู้เข้าร่วมโครงการฯ ทั้งหมดเกษตรกรต้นแบบ และเกษตรกรขยายผล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 47.10, 51.90 และ 46.26 ปี จบการศึกษาระดับประถมศึกษา มีสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.28 คน มีประสบการณ์ในการปลูกปาล์มน้ามันเฉลี่ย 12.31 ปี มีปาล์มน้ามันอายุเฉลี่ย 12.19 ปี รายได้จากการผลิตปาล์มน้ามันเฉลี่ย 30,378.11 บาทต่อเดือน พื้นที่ทาการเกษตรทั้งหมดเฉลี่ย 41.01 ไร่ พื้นที่ปลูกปาล์มน้ามันเฉลี่ย 24.82 ไร่ จานวนแรงงานด้านการเกษตรของครัวเรือนเฉลี่ย 3.64 คน เนื้อดินที่ใช้ปลูกปาล์มน้ามันเป็นดินร่วนปนทราย ร้อยละ 75.6 มีการใส่ปุ๋ยปาล์มน้ามันจานวน 2 ครั้งต่อปี ร้อยละ 66.2 ใช้ปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว ส่วนใหญ่เป็นสมาชิกกลุ่มลูกค้าธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (2) เกษตรกรทั้งหมดเห็นว่าความเหมาะสมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินและใบปาล์มน้ามัน การเก็บตัวอย่างดิน การเก็บตัวอย่างใบเพื่อส่งวิเคราะห์ห้องปฏิบัติการอยู่ในระดับมาก (4) เกษตรกรต้นแบบมีปริมาณผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงขึ้น 0.76 ตันต่อไร่ เกษตรกรมีการปฏิบัติต่อเนื่องร้อยละ 62.7 เกษตรกรมีการถ่ายทอดความรู้เพื่อขยายผล ร้อยละ 72.1 (5) เกษตรกรทั้งหมดมีปัญหาในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีข้อเสนอแนะคือควรดาเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง เพิ่มจานวนแปลงสาธิตและเรียนรู้ มีการถ่ายทอดความรู้เรื่องการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินและใบปาล์มน้ามันอย่างต่อเนื่องth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.287-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาส่งเสริมการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectดิน--การวิเคราะห์th_TH
dc.subjectปุ๋ย--การใช้ประโยชน์--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินผลโครงการใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดินและใบปาล์มน้ำมัน ในอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่th_TH
dc.title.alternativeEvaluation of the project of fertilizer application adhering to soil and oil palm leave analysis in Khlong Thom District of Krabi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.287-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิต (ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร)th_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142679.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.01 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons