Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1840
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorเพลินตา พรหมบัวศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพัชรา เปรมปราณี, 2506--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-25T08:47:31Z-
dc.date.available2022-10-25T08:47:31Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1840-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาล สังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานคร 3 แห่ง จำนวน 289 คน เครื่องมือในการเก็บ รวบรวมข้อมูลซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นประกอบด้วย 1) แบบสอบถามการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย เป็นข้อคำถามแบบเลือกตอบและคำถามปลายเปิด จำนวน 7 ข้อ 2) แบบวัดทัศนคติต่อการพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย และ 3) แบบวัดการรับรู้สิ่งเอื้ออำนวยในการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ซึ่ง เป็นแบบวัดแบบบิเคิร์ต 5 ระดับมี จำนวน 23 ข้อ และ 31 ข้อ ตามลำคับ ตรวจสอบความตรงตาม เนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 7 ท่าน ค่าความเที่ยงของแบบวัดทัศนคติต่อการพัฒนางานประจำ สู่งานวิจัย เท่ากับ 0.84 และแบบวัดการรับรู้สิ่งเอื้ออำนวยในการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย เท่ากับ 0-94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติถดถอยโลจีสติค ผลการวิจัยพบว่าพยาบาลวิชาชีพ ในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวง สาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานคร มีอายุเฉลี่ย 38.14 ปี ร้อยละ 85.1 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และร้อยละ 14.2 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท เคยทำการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย ร้อยละ 51.9 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ระดับการศึกษา มีค่า Odd ratio = 4.64 (95% CI 1.93-11.15) และ ทัศนคติ ต่อการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยโดยมีค่า Odd ratio = 2.93 (95% CI 1.24-6.91) ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพ -- ภาระงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยของพยาบาลวิชาชีพในโรงยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เขตกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeFactors Influencing the development of research projects based on routine jobs carried out by professional nurses at hospital under the jurisdiction of the Medical Servivices Department, the Ministry of Publiv Health in Bangkok Metropolisth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research was to analyze factors influencing the development of research projects based on routine jobs carried out by professional nurses at hospitals under the jurisdiction of the Medical Services Department, the Ministry of Public Health, Bangkok Metropolis. The sample comprised 289 professional nurses who worked at three general hospitals under the jurisdiction of the Medical Services Department, the Ministry of Public Health, Bangkok Metropolis. Three instruments developed by the researcher comprised: 1) the development of research projects based on routine jobs questionnaire consisted of 7 items of multiple choice and open ended questions, 2) attitudes toward the development of research projects based on routine jobs questionnaires, and 3) perception of professional nurses to the development of research projects based on routine jobs. These two questionnaires were five point Likert scale included 23 and 31 items respectively. Content validity was verified by seven experts. The reliability of the second and the third questionnaires were 0.84 and 0.94 respectively. The data were analyzed by descriptive statistics and logistic regression analysis. The major findings were as follows. 1) The average age of professional nurses was 38.14. Eighty five percent received their bachelor degree, and 14.2 percent earned their master degree. About a half of nurses (51.9 percent) had experience in developing their research projects based on their routine jobs. An educational level and attitudes could predict the development of research projects based on their routine jobs carried out by professional nurses (odd ratio = 4.64,95% CI 1.93-11.15; odd ratio = 2.93,95% CI 1.24-6.91, p < 0.05 respectively).en_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib113855.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons