Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1850
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวัฒน์ คงสม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสัจจา บรรจงศิริ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวัณละดา หาญมนตรี, 2522--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-26T03:38:10Z-
dc.date.available2022-10-26T03:38:10Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1850-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (กษ.ม. (การจัดการการเกษตร))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2556th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ลักษณะทางประชากรของผู้ใช้ประโยชน์พื้นที่ สาธารณะป่าโคกสว่าง 2) สภาพการใช้ประโยชน์และการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่าโคกสว่าง 3) ปัญหาในการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะป่าโคกสว่าง และ 4) แนวทางในการบริหารจัดการพื้นที่ สาธารณะป่าโคกสว่างอย่างมีส่วนร่วม ผลการศึกษา พบว่า 1) ลักษณะทางประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 41-50 ปี ส่วนใหญ่จบระดับประถมศึกษา ประกอบอาชีพเกษตรกร มีรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาทต่อเดือน 2) ส่วนใหญ่ ใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะ ฯ เพื่อการบริโภคในครัวเรือนและเป็นรายได้เสริม กิจกรรมที่เข้าใช้ประโยชน์ ตลอดทั้งปี คือ การนำสัตว์เข้าไปเลี้ยง ตัดไม้ทำฟืน เผาถ่าน และล่าสัตว์ การบริหารจัดการยังขาดการวาง แผนการใช้ประโยชน์โดยชุมชน ขาดการกำหนดมาตรการด้านการอนุรักษ์ ระเบียบ และข้อตกลงในการ ใช้ประโยชน์จากพื้นที่ 3) ปัญหาที่พบส่วนใหญ่คือ ปัญหาความเสื่อมโทรมของพื้นที่ และความขัดแย้งของ คนในชุมชน 4) แนวทางการบริหารหลักๆ คือ (1) จัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่า โคกสว่าง (2) จัดให้มีที่ปรึกษาของคณะกรรมการ (3) กำหนดกฎระเบียบต่างๆ ในการจัดการและใช้ประโยชน์ พื้นที่สาธารณะป่าโคกสว่าง (4) การจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีหรือกิจกรรมการดำเนินงานของพื้นที่ สาธารณะป่าโคกสว่าง (5) การตรวจตราสอดส่องดูแลพื้นที่สาธารณะป่าโคกสว่าง (6) ประสานความร่วมมือ กับภายนอกในการแก้ปัญหาการจับจองพื้นที่และการอนุรักษ์ฟื้นฟู และ (7) การติดตามประเมินผลหลังจาก ที่มีคณะกรรมการบริหารจัดการพื้นที่เข้ามาดูแลth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2013.131-
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการจัดการการเกษตร --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพื้นที่สาธารณะ--ไทย--สกลนคร--การจัดการth_TH
dc.titleแนวทางการบริหารจัดการพื้นที่สาธารณะป่าโคกสว่าง อำเภอเมือง จังหวัดสกลนครth_TH
dc.title.alternativeManagement approach of Khok Sawang Forest Public Land in Mueang District of Sakon Nakhon Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2013.131-
dc.degree.nameเกษตรศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study 1) the demographics of users of Khok Sawang Forest Public land; 2) the conditions of utilization and management of Khok Sawang Forest Public land; 3) problems with the utilization of Khok Sawang Forest Public land; and 4) approaches for the participatory management of Khok Sawang Forest Public land. The study employed both qualitative and quantitative research methods. Questionnaires were used for collecting quantitative data from 259 sample households that settled down in villages around Khok Sawang Forest public land. Accidental sampling was used. Statistics for analyzing the data were frequency, percentage, and mean. The focus group method was used for collecting qualitative data from contributors comprising representatives of the utilizers of Khok Sawang Forest public land, comprising 15 people from 4 villages. Purposive sampling was used. Data were analyzed by content analysis. The results showed that 1) the majority of samples were female, age between 41 - 50 years, educated to elementary level, farmers, with income of less than 5,000 baht per month. 2) The samples utilized the public land mainly for household consumption and supplementary income. The activities of utilization that occurred throughout the year were cattle-farming, tree cutting to make charcoal and hunting. Problems with management of the public land were a lack of planning for utilization by the community, lack of conservation measures, and lack of regulations and agreements for utilization of the area. 3) Major problems were degeneration of the public land and utilization conflicts between people in the community. 4) The participatory approaches were: (1) establish a council for the management of Khok Sawang Forest Public land; (2) set up a supervisor; (3) set up regulations on the management and utilization of Khok Sawang Forest Public land; (4) set up yearly action plan or activity plan for Khok Sawang public forest land; (5) Khok Sawang Forest Public land inspection and supervision; (6) cooperate with other organizations for solving land ownership claim and conservation; and (7) follow up and assessment of the council’s work.en_US
Appears in Collections:Agri-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142733.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.1 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons