Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชื่นจิตร โพธิศัพท์สุข, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวัชราพร เชยสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorธนวรรณ สุกสิ, 2507--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T02:21:03Z-
dc.date.available2022-10-27T02:21:03Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1859-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การบริหารการพยาบาล))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2551th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงบรรยายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อุปนิสัยเชิงรุก ความสามารถในการปฏิบัติ บทบาทของหัวหน้าหอผู้ป่วย และประสิทธิผลการพยาบาลของหอผู้ป่วย และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัย เชิงรุก ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับประสิทธิผลของการพยาบาลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลรัฐ ระดับตติยภูมิ เขต 15 และ 17 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ ระดั บตติยภูมิ ในเขต 15 และ 17 ซึ่งได้จาก การสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จำนวน 397 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ แบบสอบถาม เกี่ยวกับอุปนิสัยเชิงรุก ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทของหัวหน้าหอผู้ป่วย และ ประสิทธิผลการพยาบาทของหอผู้ป่วย ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อทำจากผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยหาค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ 0.98, 0.99 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาบ และค่าสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) หัวหนัาหอผู้ป่วย มีอุปนิสัยเชิงรุก ทั้งในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง มีความสามารถในการปฏิบัติบทบาทโดยรวมอยู่ในระดับสูง ยกเว้นดัานวิจัยอยู่ในระดับปานกลาง ส่วน ประสิทธิผลการพยาบาลของหอผู้ป่วย พบว่าทั้งโดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับสูง 2) อุปนิสัยเชิงรุก ของ หัวหนัาหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ 0.05 (r = 0.69) และ ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทของหัวหน้าที่ผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพยาบาทของหอผู้ป่วย ในระดับสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (r = 0.77) ดังนั้นจึงควรพัฒนาหัวหน้าหอผู้ป่วยให้มีความสามารถในการปฏิบัติบทบาทของหัวหน้าหอผู้ป่วย และอุปนิสัยเชิงรุก เพื่อส่งผลให้เกิดประสิทธิผลการพยาบาลของหอผู้ป่วยที่ดีเพิ่มขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการบริหารการพยาบาล -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectพยาบาล -- ภาระงานth_TH
dc.subjectพยาบาลกับผู้ป่วยth_TH
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอุปนิสัยเชิงรุก ความสามารถในการปฏิบัติบทบาทของหัวหน้าผู้ป่วยกับประสิทธิผลของการพยาบาลในหอผู้ป่ายตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ ระดับตติยภูมิ เขต 15 และ 17th_TH
dc.title.alternativeThe relationship between proactive habits, the abillity of head nurses in role performance, and nursing effectiveness of patient units as perceived by staff nurses of governmental hospitals at tertiary care units in Regions 15 and 17th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาพยาบาลศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this descriptive research were: 1) to study proactive habits, the ability of head nurses in role performance, the nursing effectiveness of patient units, and 2) to explore the relationship between proactive habits, the ability of head nurses in role performance and the nursing effectiveness of patient units of governmental hospitals at tertiary care units in Region 15 and 17. The samples included 397 staff nurses of governmental hospitals at tertiary care units in Region 15 and 17, selected by multi - stage random sampling. Questionnaires were used research tools and comprised 3 sections: proactive habits, the ability of head nurses in role performance, and the nursing effectiveness of patient units. The content validity of questionnaires was verified by experts. The Cronbach’s Alpha coefficients of the first to the third sections were .98, .99, and .95 respectively. Data were analyzed by descriptive statistics (percentage, mean, and standard deviation) and Pearson product moment correlation coefficient. The results of this study were as follows; 1) staff nurses rated the proactive habits of their head nurses at the high level. To be precise, staff nurses rated the ability in role performance of their head nurses and the nursing effectiveness of patient units at the high level, whereas staff nurses rated the ability of research of their head nurses at the moderate level; and 2) The proactive habits of head nurses correlated significantly and positively with nursing effectiveness at the moderate level (r - 0.69, p < 0.05), and the ability of head nurses in role performance correlated significantly and positively with nursing effectiveness at the high level (r = 0.77, p < 0.05). Therefore, head nurses should be trained to have higher ability in both role performance and proactive habits in order to increase the nursing effectiveness of patient unitsen_US
Appears in Collections:Nurse-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib114924.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons