Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1866
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฐิติกรณ์ ยาวิไชย จารึกศิลป์th_TH
dc.contributor.authorเหมือนฝัน ยองเพชร, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T03:25:54Z-
dc.date.available2022-10-27T03:25:54Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1866en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพะเยา 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อการจัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา และ 3) เสนอแนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างทีศึกษา คือ ครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดพะเยา โดยการกำหนดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซีและมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 108 คน จากนั้นใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญ 6 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .89 และ .87 ตามลำดับ และแบบสัมภาษณ์ถึงโครงสร้างเกี่ยวกับแนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้เชิงรุก การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) สภาพที่เป็นจริงของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก สภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (2) ความต้องการจำเป็นในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษาสามารถเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม ด้านการเรียนรู้ผ่านการลงมือทำ ด้านการพัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง ด้านการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ และด้านบทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ ตามลำดับ และ (3) แนวทางการพัฒนาการบริหารการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 มีดังนี้ สถานศึกษาควรใช้กระบวนการบริหารแบบมีส่วนร่วมในการวางแผน ให้ความสำคัญกับการพัฒนาทักษะของครูในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งผลให้เกิดกระบวนการเรียนรู้เชิงรุก ผู้บริหารควรมีการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินการจัดการเรียนรู้ นำผลจากการนิเทศ กำกับติดตาม ตรวจสอบ ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ครูเพื่อนำมาปรับปรุงหรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของตนเองและปรับปรุงแก้ไขการบริหารการจัดการเรียนการรู้ในภาคเรียนต่อไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการเรียนแบบมีส่วนร่วม--ไทย--พะเยาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารการศึกษาth_TH
dc.titleแนวทางการบริหารการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดพะเยาth_TH
dc.title.alternativeGuidelines of active learning management in the 21st century in Schools under Phayao Provincial office of the non-formal and informal educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to study the actual and desirable conditions of active learning management in the 21st Century’ in schools under Phayao Provincial Office of the Non-Formal and Informal Education: (2) to study the needs for active learning management in the 21st Century’ of the schools: and (3) to propose guidelines for active learning management in the 215' Century’ of the schools. The research sample consisted of 108 teachers from schools under Phayao Provincial Office of the Non-Formal and Informal Education, obtained by stratified random sampling based on school size. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan's Sample Size Table. The key research informants were six experts. The employed research instruments were a questionnaire on the actual condition and desirable condition of active learning management in the 21st Century’ in school, with reliability’ coefficients of .89 and .87 respectively, and a semi-structured interview form on guidelines for active learning management in the 21st Century in school. Research data were analyzed with the use of frequency, percentage, mean, standard deviation. PNImodified- and content analysis. The research findings showed that 1) the overall actual condition of active learning management in the 21st Century’ of the schools was rated at the high level: while the overall desirable condition of active learning management in the 21st Century’ of the schools was rated at the highest level; 2) the needs for active learning management in the 21st Century of the schools could be ranked from top to bottom as follows: the participative learning aspect, the learning by doing aspect, the development of higher thinking skills aspect, the integrated learning management aspect, and the roles of teacher in learning management aspect, respectively: and 3) guidelines for development of active learning management in the 21s* Century’ were as follows: the school should use the participative administration process in planning: it should give importance to the development of teachers' skills in organizing learning activities that lead to the active learning process: the administrators should supervise, monitor, follow up and evaluate the learning management of the school: and they should take the results of supervision. monitoring and evaluation to provide the feedback information to the teachers in order for them to take it to improve or develop their own learning management and improve or revise their learning management in the subsequent semestersen_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม18.73 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons