Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจินตนา ชุมวิสูตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorชลวิภา วิริยะกุล, 2531--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T03:48:57Z-
dc.date.available2022-10-27T03:48:57Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1868-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อ (1) ศึกษาความเป็นมา แนวคิด ทฤษฎีกฎหมายที่เกี่ยวกับการกำหนดอายุความในคดีอาญาทั้งของไทยและต่างประเทศ (2) ศึกษาปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการกําหนดอายุความในคดีอาญา (3) เสนอแนวทางแก้ไขให้สอดคล้องกับหลักกฎหมาย ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกาและประเทศเยอรมัน และ (4) นําแนวทางนั้นไปแก้ไขเพิ่มเติมบทบัญญัติกฎหมายให้ชัดเจนในการกำหนดอายุความในคดีอาญา การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยจากเอกสาร ข้อมูลที่ทําการศึกษามีทั้งของประเทศไทยและต่างประเทศ โดยรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ วารสาร สิ่งตีพิมพ์ ตัวบทกฎหมาย ตํารา บทความ ระเบียบวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องและข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ผลการศึกษาพบว่า (1) การกำหนดอายุความในคดีอาญาของไทยได้บัญญัติมาเป็นระยะเวลายาวนาน ส่วนต่างประเทศการกำหนดอายุความได้มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมในปัจจุบัน (2) คดีอาญาหลายคดีขาดอายุความและไม่สามารถนําผู้กระทําความผิดมารับโทษได้ ซึ่งกระทบต่อรัฐและสังคม ส่งผลต่อความศักดิ์สิทธิ์ในการบังคับใช้กฎหมาย ดังนั้น เพื่อความยุติธรรม จึงควรกำหนดอายุความให้มีความชัดเจน โดยให้อายุความสะดุดหยุดอยู่ในกรณีที่ผู้ถูกกล่าวหาวิกลจริตภายหลังการกระทําความผิด และความผิดอาญาบางประเภทที่มีความร้ายแรงกำหนดให้ไม่มีอายุความ (3) ในปัจจุบันหลายประเทศมีบทบัญญัติเกี่ยวกับอายุความค่อนข้างละเอียดและทันสมัย ทําให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพ ขณะที่ประเทศไทยยังไม่มีการแก้ไขให้เหมาะสมกับสภาพของสังคมไทยในปัจจุบัน ทําให้เริ่มมีคดีขาดอายุความมากขึ้น จึงทําให้อายุความที่เคยกำหนดไว้มีความหนักแน่นน้อยลง (4) จึงเห็นสมควรให้มีการแก้ไขปรับปรุงบทบัญญัติเกี่ยวกับการกำหนดอายุความ โดยควรบัญญัติให้อายุความสะดุดหยุดอยู่ไว้กรณีที่ผู้ต้องหาหรือจําเลยวิกลจริตและไม่สามารถต่อสู้คดีได้ทั้งในชั้นพนักงานสอบสวนหรือในชั้นศาลและให้ความผิดอาญาบางประเภทที่มีความร้ายแรงกำหนดให้ไม่มีอายุความ ทั้งนี้เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายมีประสิทธิภาพและประโยชน์สูงสุด.th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช--วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอายุความth_TH
dc.subjectการจำกัดอายุความฟ้องคดี (กฎหมายอาญา)th_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการกำหนดอายุความในคดีอาญาth_TH
dc.title.alternativeDetermination of prescription in criminal casesth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study the objectives of this study are to (1) study the background, concepts, and theories, laws related to the prescription of criminal cases in both Thai and foreign countries (2) study the legal problems related to the prescription of criminal cases (3) to propose guidelines amendments to be in line with legal principles, including the United States and Germany, and (4) adopted that approach to amend legal provisions to explicitly determine the prescription of criminal liability This independent study is a qualitative research study by researching from documents the data of the study are both in Thailand and abroad by collecting information from books, journals, publications, laws, texts, articles, relevant procedures and information on the internet on the internet The results of the study showed that (1) the prescription of the Thai criminal lawsuits has been long established but in foreign countries, the prescription has changed according to the current social conditions. (2) Many criminal cases to be precluded by prescription and the offender cannot be punished. This affects the state and public and also affect the sanctity of law enforcement. Therefore, the prescription should be clear specified by allowing the prescription to be interrupted in the event that the alleged person becomes insane after the commission and the serious crimes shall have no prescription. (3) Currently, many countries have relatively detailed and up-to-date prescription provisions its lead to the effectiveness of law enforcement while Thai law has not been modified appropriately to the current situation of Thai society. This cause many cases to be precluded by prescription thus making the prescription that had been set to be less firm.(4)Therefore it appropriate to amend the provisions relating to the prescription. The prescription should be interrupted in the event that the accused or the defendant is insane and unable to defend the case either in the inquiry official or in the court. In some certain serious crimes, requiring no prescription in order to enforce the laws efficiently and beneficially.en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
166515.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.95 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons