Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพูนศิริ วัจนะภูมิth_TH
dc.contributor.authorวิสันต์ ปิ่นสุวรรณ์, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T06:10:46Z-
dc.date.available2022-10-27T06:10:46Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1876en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาคู่มือครอบครัวในการจัดการขยะครัวเรือน วิธีการศึกษา ผู้ศึกษาได้รวบรวมและเรียบเรียงเนื้อหาสาระข้อมูลความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะในครัวเรือนอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดปริมาณขยะในครัวเรือน จากเอกสารและสิ่งพิมพ์ สื่อทางเว็บไซต์ต่าง ๆ รวมทั้งจากผลการสัมภาษณ์ความรู้ครอบครัวในการจัดการขยะครัวเรือน จากตัวแทนของครอบครัว จํานวน 20 ราย เพื่อนำผลที่ได้รับมากําหนดโครงสร้างและขอบเขตเนื้อหาสำหรับการพัฒนา (ร่าง) คู่มือการจัดการขยะในครัวเรือน จากนั้นจึงนำร่างคู่มือดังกล่าวที่เรียบเรียงเนื้อหาเรียบร้อยแล้วกลับไปให้ผู้ดูแลครอบครัวที่ศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อคู่มือ และได้นำเสนอแนะมาปรับปรุงแก้ไขคู่มือครอบครัวนี้เป็นฉบับสมบูรณ์ การพัฒนาคู่มือครอบครัวในการจัดการขยะครัวเรือนฉบับนี้ นำเสนอเนื้อหาพร้อมรูปภาพประกอบ โดยแบ่งการนำเสนอเนื้อหาเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ครอบคลุมรายละเอียดความสำคัญของปัญหาที่ศึกษา วัตถุประสงค์ และวิธีการศึกษา ส่วนที่ 2 ประกอบด้วยรายละเอียดเนื้อหาของข้อมูล บทที่ 1 ครอบคลุมรายละเอียดบทบาทของครอบครัวกับการจัดการขยะในครัวเรือน บทที่ 2 ครอบคลุมรายละเอียดการจัดการกำจัดขยะในครัวเรือน บทที่ 3 ครอบคลุมรายละเอียดการกําจัดขยะในครัวเรือน บทที่ 4 ครอบคลุมรายละเอียดการใช้ประโยชน์จากขยะในครัวเรือน บทที่ 5 ครอบคลุมรายละเอียดการจัดการขยะตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับส่วนที่ 3 ครอบคลุมเนื้อหารายละเอียดเกี่ยวกับสรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกการพัฒนาครอบครัวและสังคม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการกำจัดขยะth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การพัฒนาครอบครัวและสังคมth_TH
dc.titleการพัฒนาคู่มือครอบครัวในการจัดการขยะครัวเรือนth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of family manual for household waste managementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชามนุษยนิเวศศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study was to develop a family manual for household waste management. The method for this study, the author collected and compiled contents regarding effective household waste management to reduce amounts of household wastes from documents, printed materiaE and media from various websites as well as results of interviews with representatives from 20 families on knowledge about household waste management. The result of literature review and interviews with family representatives were used to design structure and scope to develop a draft Family Manual for Household Waste Management. After that die draft manual was sent to the family representatives for comments and suggestions. The author adopted their suggestions, corrected and improved the manual to be a complete manual. The development of family manual for household waste management presented contents with pictures consEting of 3 sections: Section One covered detaiE on importance of problems of the study, objectives and methodology; Section Two consEted of 5 chapters: Chapter 1 covered details on family’s roles and household waste management; Chapter 2 covered detaiE on household waste management; Chapter 3 covered details on household waste dEposal; Chapter 4 covered details on utilization of household wastes and Chapter 5 covered detaiE on waste management according to sufficiency economy philosophy and Section Three covered details on a summary of study results and recommendationsen_US
Appears in Collections:Hum-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons