Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1877
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorทรงวุฒิ ชนะอุดมสุข, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T06:20:13Z-
dc.date.available2022-10-27T06:20:13Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1877-
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลและปัญหาส่วนบุคคล (2) ภาวะความเครียด และ (3) อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล ปัญหาส่วนบุคคลต่อภาวะความเครียดของบุคลากรสาธารณสุขในอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ในช่วงวิกฤตโควิค-19 ของประเทศไทย ศึกษาในบุคลากรสาธารณสุขในอำเภอปราณบุรี ทั้งในโรงพยาบาล สำนักงานสาธารณสุข อำเภอและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวนกลุ่มตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 295 คน ใช้เครื่องมือในการศึกษาเป็นแบบประเมินความเครียด ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของแบบประเมินภาวะสุขภาพจิตของบุคลากรสาธารณสุขในภาวะวิกฤตโควิด-19 ในการสํารวจของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ เก็บข้อมูลระหว่างวันที่ 1 เมษายน 2553 ถึง 15 พฤษภาคม 2563 ซึ่งมีการระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณด้วยค่าสถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุ ผลการศึกษาพบว่า (1) คุณลักษณะส่วนบุคคลของบุคลากรสาธารณสุขส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล สถานภาพเป็นข้าราชการ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี อายุการทํางานน้อยกว่า 10 ปี ปัญหาส่วนบุคคลที่ก่อให้เกิดความเครียด พบว่า ส่วนใหญ่มีสาเหตุมาจากปัญหาเศรษฐกิจมากที่สุด รองลงมาคือ ปัญหาการทำงาน ปัญหาสุขภาพ และปัญหาครอบครัว ตามลำดับ (2) บุคลากรสาธารณสุขส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มเครียดน้อย รองลงมาคือ เครียดปานกลาง และ (3) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะความเครียดในช่วงวิกฤตโควิด-19 ของบุคลากรสาธารณสุขในอำเภอปราณบุรีจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ในช่วงวิกฤตโควิค-19 ในประเทศไทย คือ อายุ ปัญหาสุขภาพ และปัญหาการทำงาน มีอิทธิพลต่อภาวะความเครียด ซึ่งทั้ง 3 ปัจจัยสามารถร่วมกันอธิบายการแปรผันตามการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ได้ร้อยละ 12.9 (R2 = 0.129)th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)th_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบุคลากรทางการแพทย์--ความเครียดในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--สาธารณสุขศาสตร์th_TH
dc.titleภาวะความเครียดในช่วงวิกฤตโควิด-19 ของบุคลากรสาธารณสุขอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์th_TH
dc.title.alternativeStress conditions during COVID-19 crisis of health personnel in Pran Buri District, Prachuab Khiri Khan Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis cross-sectional research aimed to study: (1) personal characteristics and problems; (2) stress conditions; and (3) influence of personal factors and problems on the stress conditions, all among public health personnel in Pran Buri district, Prachuap Klun Khan province during the COVID-19 crisis in Thailand. The study involved all 295 public health personnel in the community hospital, the district public health office and subdistrict health promoting hospitals in Pran Buri district. The study instrument was the stress assessment form which was part of the mental health assessment or survey of health personnel during Thailand's COVID-19 crisis undertaken by the Prachuap Khiri Khan Provincial Public Health Office. Data were collected between April 1 and May 15, 2020; and data analysis was performed for quantitative data to determine frequencies, percentages, means, standard deviations, and multiple linear regression. The results indicated that, among the study participants: (1) concerning personal characteristics, most of them were female government officials working in hospitals, graduated with a bachelor's degree, and had less than 10 years of service; their stress conditions were mostly caused by economic problems, followed by work- related problems, health problems and family problems, respectively, (2) regarding stress levels, most of them were in the less stressful group, followed by moderate stress; and (3) the factors affecting their stress conditions during the covib-19 crisis were age, health problems and work-related problems, all of which could explain 12.9% of the conditions (R2 = 0.129) according to a multiple regression analysisen_US
Appears in Collections:Health-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
FULLTEXT.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.56 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons