Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระวุธ ธรรมกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรางคณา จันทร์คง, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุภาพร กิติหล้าth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-10-27T07:54:29Z-
dc.date.available2022-10-27T07:54:29Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/1889-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(บริหารสาธารณสุข))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2560th_TH
dc.description.abstractโรคหลอดเลือดสมองเป็นโรคทางระบบประสาทที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย ปัจจัยด้านผู้ดูแล และคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และ 2) ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ป่วย และปัจจัยด้านผู้ดูแล ต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของสถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการที่สถาบันสิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติที่มีการรู้คิดปกติ จำนวน 135 คน จากจำนวนประชากร 560 คน คำนวณขนาดตัวอย่างด้วยสูตรของโคเฮน และใช้การสุ่มอย่างง่ายโดยตารางเลขสุ่ม เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามค่าความเที่ยงในส่วนของคุณภาพชีวิต เท่ากับ 0.87 และในส่วนของความซึมเศร้า เท่ากับ 0.77สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการส่วนใหญ่เป็นเพศชายอยู่ในวัยสูงอายุ ไม่มีอาการของโรคซึมเศร้า และสามารถประกอบกิจวัตรประจำวันได้ในระดับปานกลางขึ้นไป มีผู้ดูแล โดยผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นคนในครอบครัว มีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ 2) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ได้แก่ ระดับการศึกษา ความซึมเศร้า ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวัน ประเภทผู้ดูแล และระยะเวลาที่ต้องมีผู้ดูแลต่อวัน ซึ่งสามารถร่วมกันอธิบายการผันแปรคุณภาพชีวิตได้ร้อยละ 42th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootherth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกบริหารสาธารณสุข --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมอง--ผู้ป่วยth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองของสถาบันสิรินธร เพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeFactors affecting quality of life of stroke patients at Sirindhorn National Medical Rehabilitation Instituteth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeStroke is a neurological disorder that remains a major health problem in Thailand. The objective of this cross-sectional study were: (1) to determine personal factors of patients, factors related to caregivers, and patients’ quality of life; and (2) to determine the association between personal factors and caregiver factors and patients’ quality of life, all involving stroke patients at the Sirindhorn National Medical Rehabilitation Institute (SNMRI). Out of 560 stroke patients who had normal cognitive function at the institute, 135 were selected using the simple random sampling method to take part in the study. Data were collected using a questionnaire with the reliability value on quality of life at 0.87 and depression at 0.77. Statistics for data analyses were frequency, percentage, mean, standard deviation, and multiple linear regression. The results demonstrated that: (1) among respondents, most of them were elderly male, had no depression, could perform activities of daily living at a moderate level or higher, and had caregivers, most of whom were family members. Their overall quality of life was moderate; and (2) the factors that significantly affected the quality of life of stroke patients were educational level, depression scale, activities of daily living scale, caregiver type, and care time period, which could explain 42% of the stroke patients’ quality of lifeen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158777.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.96 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons